โรคลดความกด
หน้าตา
โรคลดความกด (caisson disease) | |
---|---|
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | T70.3 |
ICD-9 | 993.3 |
DiseasesDB | 3491 |
eMedicine | emerg/121 |
MeSH | C21.866.120.248 |
โรคลดความกด หรือ โรคเคซอง หรือ โรคน้ำหีบ หรือ โรคน้ำหนีบ หรือ ความเมาความกดอากาศ[1] (อังกฤษ: decompression sickness หรือ DCS หรือเรียกเป็นภาษาพื้นบ้านว่า divers' disease, the bends หรือ caisson disease) เป็นโรคที่เกิดจากการเกิดฟองก๊าซในเลือดหรือในเนื้อเยื่อ มักเกิดจากการดำน้ำและมีการลอยตัวขึ้นเร็ว ก๊าซไนโตรเจนอยู่ในภาวะเกินความอิ่มตัวเมื่อความดันอากาศลดลง กลายสภาพเป็นฟองอากาศ ซึ่งสามารถเกิดได้กับทุกส่วนของร่างกายทั้งส่วนที่เป็นของแข็งหรือของเหลว เช่น เกิดฟองอากาศที่กล้ามเนื้อข้อต่อจะมีอาการปวด ถ้าเข้าสู่กระแสเลือดไปอุดเส้นเลือดที่ไขสันหลังหรือสมองจะทำให้สลบ หรือเป็นอัมพาต
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-15. สืบค้นเมื่อ 2009-11-06.
- http://www.kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK23/chapter8/t23-8-l2.htm เก็บถาวร 2007-08-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน