โกลด์(III) คลอไรด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก โกลด์(III)คลอไรด์)
โกลด์(III) คลอไรด์


Crystal structure of AuCl3
ชื่อ
IUPAC name
Gold(III) trichloride
ชื่ออื่น
Auric chloride
Gold trichloride
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.033.280 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
RTECS number
  • MD5420000
UNII
  • InChI=1S/Au.3ClH/h;3*1H/q+3;;;/p-3 checkY
    Key: RJHLTVSLYWWTEF-UHFFFAOYSA-K checkY
  • InChI=1/Au.3ClH/h;3*1H/q+3;;;/p-3
    Key: RJHLTVSLYWWTEF-DFZHHIFOAC
  • Cl[Au-]1(Cl)[Cl+][Au-]([Cl+]1)(Cl)Cl
คุณสมบัติ
AuCl3
(exists as Au2Cl6)
มวลโมเลกุล 606.6511 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ ผลึกสีแดง (ไม่มีน้ำ); ผลึกสีเหลืองทอง (โมโนไฮเดรต)[1]
ความหนาแน่น 4.7 g/cm3
จุดหลอมเหลว 160 องศาเซลเซียส (320 องศาฟาเรนไฮต์; 433 เคลวิน) (สลายตัว)
68 g/100 ml (20 °C)
ความสามารถละลายได้ ละลายได้ในอีเทอร์และเอทานอล ละลายได้เล็กน้อยในแอมโมเนียเหลว ไม่ละลายในเบนซีน
−112·10−6 cm3/mol
โครงสร้าง
monoclinic
P21/C
a = 6.57 Å, b = 11.04 Å, c = 6.44 Å
α = 90°, β = 113.3°, γ = 90°[2]
Square planar
อุณหเคมี
−117.6 kJ/mol[3]
ความอันตราย[4]
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH):
อันตรายหลัก
ระคายเคือง
GHS labelling:
The exclamation-mark pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)
เตือน
H315, H319, H335
P261, P264, P271, P280, P302+P352, P305+P351+P338
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนอื่น ๆ
Gold(III) fluoride
Gold(III) bromide
แคทไอออนอื่น ๆ
Gold(I) chloride
Silver(I) chloride
Platinum(II) chloride
Mercury(II) chloride
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

โกลด์ (III) คลอไรด์ (อังกฤษ: Gold (III) chloride) ชื่อการค้าคือ ออริก คลอไรด์ (auric chloride) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ของทองคำ สูตรทางเคมีของมันคือ AuCl3 ทองคำที่มีออกซิเดชั่น สเตต (oxidation state) +3 เป็นฟอร์มที่มีเสถียรภาพมากที่สุดของมัน สารประกอบคลอไรด์ของทองในรูปแบบอื่น คือ โกลด์ (I) คลอไรด์ (AuCl) แตมีเสถียรภาพน้อยกว่า AuCl3 เมื่อเอาทองละลายในน้ำประสานทอง (aqua regia) จะได้คลอราออริก แอซิด (chlorauric acid- (HAuCl4)) ซึ่งมีชื่อเรียกหลายชื่อเช่น "โกลด์ คลอไรด์" ("gold chloride") หรือ "แอซิดโกลด์ไตรคลอไรด์" ("acid gold trichloride" ) หรือ"โกลด์ (III) คลอไรด์ไตรไฮเดรต" ("gold (III) chloride trihydrate") โกลด์ (III) คลอไรด์ มีคุณสมบัติดูดน้ำได้ดีมาก และละลายในน้ำและแอลกอฮอลได้ดีมากด้วย

โครงสร้าง[แก้]

พันธะในโครงสร้างนี้เป็นพันธะโควาเลนต์

คุณสมบัติทางเคมี[แก้]

แอนไฮดรัส AuCl3 จะเริ่มแตกตัวเป็น AuCl ที่อุณหภูมิ 160 ?C; และเมื่ออุณหภูมิสูงกว่านี้มันจะกลายเป็นโลหะทองคำ และ AuCl3.

AuCl3 → AuCl + Cl2 (>160 ?C)

3 AuCl → AuCl3 + 2 แม่แบบ:Gold (>420 ?C)

อ้างอิง[แก้]

  1. Egon Wiberg; Nils Wiberg; A. F. Holleman (2001). Inorganic Chemistry (101 ed.). Academic Press. pp. 1286–1287. ISBN 978-0-12-352651-9.
  2. E. S. Clark; D. H. Templeton; C. H. MacGillavry (1958). "The crystal structure of gold(III) chloride". Acta Crystallogr. 11 (4): 284–288. doi:10.1107/S0365110X58000694. สืบค้นเมื่อ 2010-05-21.
  3. Haynes, William M.; Lide, David R.; Bruno, Thomas J., บ.ก. (2016). CRC Handbook of Chemistry and Physics: A Ready-reference Book of Chemical and Physical Data (95th ed.). Boca Raton, Florida. p. 5-5. ISBN 978-1-4987-5428-6. OCLC 930681942.
  4. "Gold Chloride". American Elements. สืบค้นเมื่อ July 22, 2019.
  • N. N. Greenwood, A. Earnshaw, Chemistry of the Elements, 2nd ed., Butterworth-Heinemann, Oxford, UK, 1997.
  • Handbook of Chemistry and Physics, 71st edition, CRC Press, Ann Arbor, Michigan, 1990.
  • The Merck Index, 7th edition, Merck & Co, Rahway, New Jersey, USA, 1960.
  • H. Nechamkin, The Chemistry of the Elements, McGraw-Hill, New York, 1968.
  • A. F. Wells, 'Structural Inorganic Chemistry, 5th ed., Oxford University Press, Oxford, UK, 1984.
  • G. Dyker, An Eldorado for Homogeneous Catalysis?, in Organic Synthesis Highlights V, H.-G. Schmaltz, T. Wirth (eds.) , pp 48-55, Wiley-VCH, Weinheim, 2003.
  • Y. Fukuda, K. Utimoto, J. Org. Chem. 56, 3729-3731 (1991).
  • A. S. K. Hashmi, T. M. Frost, J. W. Bats, J. Am. Chem. Soc. 122, 11553-11554 (2000).