โกลด์(III) คลอไรด์
Gold(III) chloride | |
---|---|
![]() | |
ชื่อตาม IUPAC | Gold(III) chloride |
ชื่ออื่น | Auric chloride Gold trichloride |
เลขทะเบียน | |
เลขทะเบียน CAS | [13453-07-1][CAS] |
RTECS number | MD5420000 |
คุณสมบัติ | |
สูตรเคมี | AuCl3 (exists as Au2Cl6) |
มวลต่อหนึ่งโมล | 303.325 g/mol |
ลักษณะทางกายภาพ | Golden, yellow crystals |
ความหนาแน่น | 3.9 g/cm3 (solid) |
จุดหลอมเหลว |
254 °C (527 K) |
ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ | 68 g/100 ml (cold) |
โครงสร้าง | |
โครงสร้างผลึก | monoclinic |
Coordination geometry |
Square planar |
ความอันตราย | |
อันตรายหลัก | Irritant |
R-phrases | R36/37/38 |
S-phrases | แม่แบบ:S26-36 |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
แอนไอออนที่เกี่ยวข้อง | |
แคทไอออนที่เกี่ยวข้อง | |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa | |
สถานีย่อย:เคมี |
โกลด์ (III) คลอไรด์ (อังกฤษ: Gold (III) chloride) ชื่อการค้าคือ ออริก คลอไรด์ (auric chloride) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ของทองคำ สูตรทางเคมีของมันคือ AuCl3 ทองคำที่มีออกซิเดชั่น สเตต (oxidation state) +3 เป็นฟอร์มที่มีเสถียรภาพมากที่สุดของมัน สารประกอบคลอไรด์ของทองในรูปแบบอื่น คือ โกลด์ (I) คลอไรด์ (AuCl) แตมีเสถียรภาพน้อยกว่า AuCl3 เมื่อเอาทองละลายในน้ำประสานทอง (aqua regia) จะได้คลอราออริก แอซิด (chlorauric acid- (HAuCl4)) ซึ่งมีชื่อเรียกหลายชื่อเช่น "โกลด์ คลอไรด์" ("gold chloride") หรือ "แอซิดโกลด์ไตรคลอไรด์" ("acid gold trichloride" ) หรือ"โกลด์ (III) คลอไรด์ไตรไฮเดรต" ("gold (III) chloride trihydrate") โกลด์ (III) คลอไรด์ มีคุณสมบัติดูดน้ำได้ดีมาก และละลายในน้ำและแอลกอฮอลได้ดีมากด้วย
โครงสร้าง[แก้]
พันธะในโครงสร้างนี้เป็นพันธะโควาเลนต์
คุณสมบัติทางเคมี[แก้]
แอนไฮดรัส AuCl3 จะเริ่มแตกตัวเป็น AuCl ที่อุณหภูมิ 160 ?C; และเมื่ออุณหภูมิสูงกว่านี้มันจะกลายเป็นโลหะทองคำ และ AuCl3.
AuCl3 → AuCl + Cl2 (>160 ?C)
3 AuCl → AuCl3 + 2 แม่แบบ:Gold (>420 ?C)
อ้างอิง[แก้]
- N. N. Greenwood, A. Earnshaw, Chemistry of the Elements, 2nd ed., Butterworth-Heinemann, Oxford, UK, 1997.
- Handbook of Chemistry and Physics, 71st edition, CRC Press, Ann Arbor, Michigan, 1990.
- The Merck Index, 7th edition, Merck & Co, Rahway, New Jersey, USA, 1960.
- H. Nechamkin, The Chemistry of the Elements, McGraw-Hill, New York, 1968.
- A. F. Wells, 'Structural Inorganic Chemistry, 5th ed., Oxford University Press, Oxford, UK, 1984.
- G. Dyker, An Eldorado for Homogeneous Catalysis?, in Organic Synthesis Highlights V, H.-G. Schmaltz, T. Wirth (eds.) , pp 48-55, Wiley-VCH, Weinheim, 2003.
- Y. Fukuda, K. Utimoto, J. Org. Chem. 56, 3729-3731 (1991).
- A. S. K. Hashmi, T. M. Frost, J. W. Bats, J. Am. Chem. Soc. 122, 11553-11554 (2000).
![]() |
บทความเกี่ยวกับเคมีนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:เคมี |