แนวเอ-เอ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แนวเอ-เอตั้งอยู่ในรัสเซียฝั่งยุโรป
Arkhangelsk
Arkhangelsk
Astrakhan
Astrakhan
Moscow
Moscow
Stalingrad
Stalingrad
Leningrad
Leningrad
Gorky
Gorky
อาร์ฮันเกลสค์และอัสตราฮัน, กับ มอสโก, สตาลินกราด, กอร์กี และเลนินกราด (เมืองสำคัญทางยุทธศาสตร์ที่ถูกกำหนดไว้โดยการรุกคืบหน้าที่แท้จริงของเยอรมนี) ยังได้ถูกแสดงให้เห็น.

แนวอาร์ฮันเกลสค์-อัสตราฮัน,[nb 1] หรือแนวเอ-เอสำหรับย่อสั้นๆ เป็นเป้าหมายทางทหารในปฏิบัติการบาร์บารอสซา มันยังเป็นที่รู้จักกันคือ แนววอลกา-อัสตราฮัน[1] เช่นเดียวกับ(ใช้นานๆครั้งมากขึ้น) แนววอลกา-อัสตราฮัน-อาร์ฮันเกลสค์[nb 2][2] ได้ถูกกล่าวถึงเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1940 ในคำสั่งฟือเรอร์ที่ 21 (ฟัลล์ บาร์บารอสซา) ซึ่งได้กำหนดเป้าหมายและเงื่อนไขของการรุกรานสหภาพโซเวียตของเยอรมัน ได้บรรยายถึงความสำเร็จของ"แนววอลกา-อัสตราฮันทั่วไป" ที่เป็นเป้าหมายทางทหารโดยรวม[3]

อ้างอิง[แก้]

  1. Boog, Horst (1996). Germany and the Second World War: The attack on the Soviet Union, p. 278. Oxford University Press Inc., New York.
  2. Boog, p. 803.
  3. วิกิซอร์ซมีงานที่เกี่ยวข้องกับ Führer Directive 21.


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "nb" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="nb"/> ที่สอดคล้องกัน