ข้ามไปเนื้อหา

ล็อกฮีด เอฟ-104 สตาร์ไฟเตอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก เอฟ-104 สตาร์ไฟเตอร์)
ล็อกฮีด เอฟ-104 สตาร์ไฟเตอร์
สตาร์ไฟเตอร์ รุ่นXF-104
หน้าที่ เครื่องบินสกัดกั้น, เครื่องบินทิ้งระเบิด
ประเทศผู้ผลิต สหรัฐ
ผู้ผลิต ล็อกฮีด
เที่ยวบินแรก 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1956 (YF-104A)
เริ่มใช้ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1958
ปลดระวาง 31 ตุลาคม ค.ศ.2004 (อิตาลี)
สถานะ ปลดระวางจากกรมทหาร; ใช้เฉพาะในงานเทศกาล
ผู้ใช้หลัก กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา
กองทัพอากาศเยอรมัน
กองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศญี่ปุ่น
กองทัพอากาศตุรกี
จำนวนที่ถูกผลิต 2,578
ค่าใช้จ่ายต่อลำ
1.42 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (F-104G)[1]
พัฒนาจาก ล็อกฮีด เอฟ-104 สตาร์ไฟเตอร์
รุ่น Lockheed NF-104A
Canadair CF-104
Aeritalia F-104S
พัฒนาเป็น Lockheed CL-1200/X-27
Lockheed CL-288

เอฟ-104 สตาร์ไฟเตอร์ (อังกฤษ: F-104 Starfighter) เป็นเจ๊ตขับไล่ความเร็วเหนือเสียง 2 เท่า แบบแรกของกองทัพอากาศสหรัฐ และได้ทำลายสถิติความเร็วสูงสุดของโลกไว้เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 1958 ดัวยความเร็ว 2,259.54 กิโลเมตร/ชั่วโมง

รายละเอียด เอฟ-104 สตาร์ไฟเตอร์

[แก้]
  • ผู้สร้าง: บริษัทล็อกฮีด-แคริฟอร์เนีย (สหรัฐอเมริกา)
  • ประเภท: เครื่องบินขับไล่-ทิ้งระเบิด ที่นั่งเดียว
  • เครื่องยนต์: เทอร์โบเจ็ท เจเนอรัล อีเล็กทริค เจ 79-จีอี-11 เอ ให้แรงขับ 7165 กิโลกรัม เมื่อใช้สันดาปท้าย
  • กางปีก: 6.68 เมตร
  • ยาว: 16.69 เมตร
  • สูง: 4.11 เมตร
  • น้ำหนักเปล่า: 6,387 กิโลกรัม
  • น้ำหนักวิ่งสูงสุด: 13,054 กิโลกรัม
  • อัตราเร็วขั้นสูง: 2.2 มัค ที่ระยะสูง 11,000 เมตร
  • อัตราเร็วเดินทางสูงสุด: 0.95 มัค
  • อัตราเร็วเดินทางประหยัด: 0.85 มัค
  • อัตราไต่: 15,250 เมตร/นาที ที่ระดับน้ำทะเล
  • เพดานบินใช้งาน: 17,680 เมตร
  • อัตราเร่งถึงความเร็ว: 2 มัค 3 นาที
  • ระยะทางวิ่งขึ้น: 902 เมตร
  • ระยะร่อนลง: 695 เมตร
  • รัศมีทำการรบ: 1,200 กิโลเมตร เมื่อบรรทุกเชื้อเพลิงเต็มที่
  • พิสัยบิน: 3,510 กิโลเมตร
  • อาวุธ: ปืนใหญ่อากาศ วัลแคน ขนาด 20 มม. 1 กระบอก
    • อาวุธปล่อยอากาศสู่อากาศ เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ ที่ปลายปีกข้างละนัด
    • อาวุธปล่อยอากาศสู่พื้น เอจีเอ็ม-12 บลูพับ
    • อาวุธปราบเรือรบ แบบคอร์โมรัน 2 นัด
    • ลูกระเบิดใต้ลำตัวหนัก 907 กิโลกรัม[2]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Knaack 1978.
  2. อภิวัตน์ โควินทรานนท์,อากาศยาน1979ฉบับเครื่องบิน,เอวิเอชั่น ออบเซิร์ฟเวอร์,กรุงเทพ,2522