เพศสัมพันธ์ในอวกาศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

แนวคิดของกิจกรรมทางเพศของมนุษย์ในสภาพไร้น้ำหนักหรือสภาพแวดล้อมสุดโต่งในอวกาศ หรือเพศสัมพันธ์ในอวกาศ แสดงความยากลำบากในการกระทำกิจกรรมต่าง ๆ เนื่องจากกฎข้อที่สามของนิวตัน จากกฎดังกล่าว ถ้าคู่รักยังตัวติดกัน การเคลื่อนไหวของพวกเขาจะต่อต้านกันและกัน จากนั้นอัตราความเร็วในกิจกรรมของพวกเขาจะไม่เปลี่ยนแปลงเว้นแต่ว่ามีวัตถุอื่น ๆ ที่ไม่ได้ติดตัวเข้ามาสัมผัส อาจเกิดความยากลำบากจากการลอยไปสัมผัสกับวัตถุอื่น ๆ ถ้าคู่รักมีอัตราความเร็วสัมพันธ์กับวัตถุอื่น ๆ อาจเกิดการชนขึ้นได้ มีข้อเสนอแนะว่าการปฏิสนธิและการตั้งครรภ์ในสภาพแวดล้อมนอกโลกอาจเป็นปัญหาได้[1][2][3][4]

ข้อมูลปี ค.ศ. 2009 แผนภารกิจระยะยาวของนาซาในการตั้งถิ่นฐานบนดวงจันทร์โดยมีเป้าหมายเพื่อสำรวจและตั้งถิ่นฐานในอวกาศ ประเด็นดังกล่าวถือเป็นสิ่งน่าเชื่อถือในวิทยาศาสตร์ชีวภาพ นักวิทยาศาสตร์ สตีเฟน ฮอว์คิง สรุปใน ค.ศ. 2006 ว่ามนุษย์อาจเอาชีวิตรอดได้หรือไม่ขึ้นกับการรับมือกับสภาพแวดล้อมสุดโต่งในอวกาศได้มากน้อยเพียงใด[5][6][7]

อ้างอิง[แก้]

  1. Monks, Keiron (April 9, 2012). "Thrusters on full: Sex in space". Metro. Free Daily News Group Inc./Star Media Group. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 12, 2015. สืบค้นเมื่อ June 12, 2015.
  2. Boyle, Alan (July 24, 2006). "Outer-space sex carries complications". NBCNews.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 12, 2015. สืบค้นเมื่อ June 12, 2015.
  3. Seks in de ruimte: is het mogelijk?, By Caroline Hoek; 7 April 2012
  4. S’envoyer en l’air dans l’espace Par Kieron Monks, Metro World News; 11 Avril 2012
  5. Hui, Sylvia (June 13, 2006). "Hawking Says Humans Must Colonize Space". Space.com. Purch. Associated Press. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 11, 2008. สืบค้นเมื่อ January 3, 2009.
  6. Hui, Sylvia (June 13, 2006). "Hawking: Humans Must Spread Out in Space". The Washington Post. สืบค้นเมื่อ June 12, 2015.
  7. Delange, Catherine (May 20, 2012). "The importance of sex in space". Cosmos. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 12, 2015. สืบค้นเมื่อ June 12, 2015.