เซโนแห่งซิเทียม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เซโนแห่งซิเทียม
Zeno of Citium. Bust in the Farnese collection, Naples. Photo by Paolo Monti, 1969.
เกิดc. 334 BC
ซิเทียม, ไซปรัส
เสียชีวิตc. 262 BC (aged 71–72)
เอเธนส์
ยุคปรัชญากรีก
แนวทางปรัชญาตะวันตก
สำนักลัทธิสโตอิก
ความสนใจหลัก
ตรรกศาสตร์ ฟิสิกส์ จริยศาสตร์
แนวคิดเด่น
ผูกลัทธิสโตอิก, สามสาขาของปรัชญา (ฟิสิกส์ จริยศาสตร์ ตรรกศาสตร์),[1] Logos, เหตุผลแห่งธรรมชาติมนุษย์, phantasiai, katalepsis, พลเมืองโลก[2]
ได้รับอิทธิพลจาก
เป็นอิทธิพลต่อ

เซโนแห่งซิเทียม (/ˈzn/; กรีกคอยนี: Ζήνων ὁ Κιτιεύς, Zēnōn ho Kitieus; c. 334 – c. 262 BC) เป็นนักปรัชญาชาวกรีกโบราณจากซิเทียม ในดินแดนไซปรัส[4]

เซโนเป็นผู้ก่อตั้งปรัชญาในสำนักคิดสโตอิกซึ่งเขาได้สอนในกรุงเอเธนส์ในช่วงประมาณสามร้อยปีก่อนคริสตกาล โดยใช้พื้นฐานแนวคิดจาก Cynicism สำนักคิดสโตอิกให้ความสำคัญกับคุณความดีและความสงบทางใจที่ได้จากการใช้ชีวิตในทางกุศลสอดคล้องไปกับธรรมชาติ แนวคิดนี้เป็นที่นิยมและเจริญงอกงามขึ้นเป็นสำนักคิดที่ยิ่งใหญ่ในทางปรัชญาตั้งแต่สมัยเฮลเลนิสต์ไปถึงโรมโบราณ จากนั้นจึงถูกนำกลับมารื้อฟื้นใหม่ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นนีโอสโตอิก และในสมัยปัจจุบันเรียนกว่าโมเดิร์นสโตอิก

ผลงาน[แก้]

ผลงานต้นฉบับของเซโนไม่หลงเหลือให้ศึกษาได้ในปัจจุบัน มีเพียงคำพูดสั้นๆ ที่มีผู้อื่นได้เขียนกล่าวอ้างถึง งานที่สำคัญที่สุดคือ Republic ของเขาซึ่งตั้งเขียนอย่างลอกเลียนหรือหรือปฏิเสธงานชื่อเดียวกันของเพลโต แม้ว่าจะไม่มีหนังสือต้นฉบับให้ศึกษา งานชิ้นนี้เป็นที่กล่าวถึงมากที่สุดในบรรดาผลงานของเซโน งานชิ้นนี้กล่าวถึงวิสัยทัศน์ของเซโนในสังคมอุดมคติของสำนักคิดสโตอิก

รายชื่อผลงานเขียนของเซโนที่เป็นที่รู้จักกันมีดังต่อไปนี้:[5]

  • งานเขียนด้านจริยศาสตร์:
    • Πολιτεία – Republic
    • Περὶ τοῦ κατὰ φύσιν βίου – On Life according to Nature
    • Περὶ ὁρμῆς ἢ Περὶ ἀνθρώπου φύσεως – On Impulse, or on the Nature of Humans
    • Περὶ παθῶν – On Passions
    • Περὶ τοῦ καθήκοντος – On Duty
    • Περὶ νόμου – On Law
    • Περὶ τῆς Ἑλληνικῆς παιδείας – On Greek Education
  • งานเขียนด้านฟิสิกส์:
    • Περὶ ὄψεως – On Sight
    • Περὶ τοῦ ὅλου – On the Universe
    • Περὶ σημείων – On Signs
    • Πυθαγορικά – Pythagorean Doctrines
  • งานเขียนด้านตรรกศาสตร์:
    • Καθολικά – General Things
    • Περὶ λέξεων
    • Προβλημάτων Ὁμηρικῶν εʹ – Homeric Problems
    • Περὶ ποιητικῆς ἀκροάσεως – On Poetical Readings
  • งานด้านอื่น:
    • Τέχνη
    • Λύσεις – Solutions
    • Ἔλεγχοι βʹ
    • Ἄπομνημονεύματα Κράτητος ἠθικά
    • Περὶ οὐσίας – On Being
    • Περὶ φύσεως – On Nature
    • Περὶ λόγου – On the Logos
    • Εἰς Ἡσιόδου θεογονίαν
    • Διατριβαί – Discourses
    • Χρεῖαι

อ้างอิง[แก้]

  1. "Stoicism – Internet Encyclopedia of Philosophy". www.iep.utm.edu. สืบค้นเมื่อ 19 March 2018.
  2. Bunnin & Yu (2004). The Blackwell Dictionary of Western Philosophy. Oxford: Blackwell Publishing.
  3. Marshall 1993, p. 70.
  4. Craig, Edward (2005). The Shorter Routledge Encyclopedia of Philosophy (ภาษาอังกฤษ). Routledge. p. 1076. ISBN 978-1134344093.
  5. Laërtius 1925, § 4.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]