เชคอีซา อิบน์ อาลี อัลเคาะลีฟะฮ์
หน้าตา
บทความนี้ต้องการการจัดหน้า จัดหมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือเก็บกวาดเนื้อหา ให้มีคุณภาพดีขึ้น คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้ป้ายข้อความอื่นเพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
เชคอีซา อิบน์ อาลี อัลเคาะลีฟะฮ์ | |
---|---|
ฮะคิมแห่งบาห์เรน | |
พระบรมสาทิลักษณ์ | |
ครองราชย์ | 2 ธันวาคม พ.ศ. 2412 – 9 ธันวาคม พ.ศ. 2475 |
ก่อนหน้า | เชคมุฮัมมัด อิบน์ อับดุลละห์ อัลเคาะลีฟะฮ์ |
ถัดไป | เชคฮะมัด บิน อีซา อัลเคาะลีฟะฮ์ |
ราชาภิเษก | 2 ธันวาคม พ.ศ. 2412 |
ประสูติ | 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2391, 1 Muharram 1265 AH Riffa Fort, บาห์เรน |
สวรรคต | 9 ธันวาคม พ.ศ. 2475 (84 หรรษา) มูฮารัด, บาห์เรน |
ฝังพระศพ | Al Muharraq Cemetery |
คู่อภิเษกสมรส | Shaikha Haya bint Mohamed bin Salman Al-Khalifa, Maryam bint Hamad Al Binali, Shaikha Aysha bint Mohamed Al Khalifa |
ราชวงศ์ | อัลเคาะลีฟะฮ์ |
พระราชบิดา | เชคอาลี บิน อัลเคาะลีฟะฮ์ |
พระราชมารดา | Thajba bint Ahmad bin Salman Al Khalifa |
อาชีพ | ผู้ปกครองบาห์เรน |
เชคอีซา อิบน์ อาลี อัลเคาะลีฟะฮ์ (อาหรับ: عيسى بن علي آل خليفة; พ.ศ. 2391–9 ธันวาคม พ.ศ. 2475) ทรงเป็นผู้ปกครองบาห์เรนตั้งแต่ พ.ศ. 2412 [1]จนกระทั่งเสด็จสวรรคต พระนามาภิไธยของพระองค์คือฮาคิมแห่งบาห์เรน พระองค์ทรงเป็นหนึ่งในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดในภูมิภาค ทรงครองราชย์ยาวนานถึง 63 ปี พระองค์ทรงถูกที่ปรึกษาทางการเมืองของบริตชบีบบังคับให้ทรงสละราชสมบัติใน พ.ศ. 2466 แม้ว่า "การสละราชสมบัติ" นี้จะไม่ได้รับการยอมรับจากชาวบาห์เรนซึ่งถือว่าผู้สืบทอดของพระองค์เป็นเพียงมหาอุปราชของฮะมัดจนกระทั่งการเสด็จสวรรคตของเชคอีซาในปี พ.ศ. 2475[2]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ David Lea (2001). A Political Chronology of the Middle East. London: Europa Publications. p. 19. สืบค้นเมื่อ 31 August 2013. – via Questia (ต้องสมัครสมาชิก)
- ↑ Rosemary Said Zahlan, The Making of the Modern Gulf States, Reading 1998 [2nd ed.], p. 98