เครื่องหมายจำแนกรวดเร็วทางยุทธวิธี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เครื่องหมายจำแนกรวดเร็วทางยุทธวิธีสีแดงและน้ำเงินของทหารปืนใหญ่สหราชอาณาจักร

เครื่องหมายจำแนกรวดเร็วทางยุทธวิธี (อังกฤษ: tactical recognition flash: TRF) เป็นศัพท์ทางการทหารของสหราชอาณาจักรที่ใช้เรียกแผ่นปะสีที่แขนขวาของชุดรบโดยสมาชิกของกองทัพบกสหราชอาณาจักร[1] กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ เครื่องหมายจำแนกรวดเร็วทางยุทธวิธีทำหน้าที่ในการจำแนกกรมหรือกองทหารของผู้สวมใส่อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องอาศัยหน้าหมวก มันคล้ายกันแต่แตกต่างจาก DZ Flashes ที่สวมใส่โดยสมาชิกของหน่วยส่งทางอากาศ

ไม่ควรสับสนระหว่างเครื่องหมายจำแนกรวดเร็วทางยุทธวิธี กับเครื่องหมายรูปขบวน หรือเครื่องหมาย ซึ่งใช้เพื่อแสดงถึงรูปขบวน (โดยปกติจะเป็นกองพลน้อยหรือกองพล หรือกองบัญชาการที่สูงกว่า) และประดับเพิ่มเติมจากเครื่องหมายจำแนกรวดเร็วทางยุทธวิธี โดยสมาชิกของกรมหรือกองทัพน้อยที่ประจำการในรูปขบวนนั้น

กองทัพบก[แก้]

เหล่ายานเกราะ กองบินทหารบก กรมทหารปืนใหญ่ เหล่าทหารสื่อสาร เหล่าทหารช่าง
ดูแต่ละกรม
เหล่าช่างไฟฟ้าและเครื่องกล เหล่าส่งกำลังบำรุง เหล่าการข่าว กรมอนุศาสนาจารย์กองทัพบก ทหารราบ
ดูแต่ละกรม
เหล่าทหารสารบรรณ เหล่าแพทย์ทหารบก เหล่าสัตวแพทย์ทหารบก เหล่าทันตกรรมทหารบก เหล่าพยาบาลกองทัพบกสมเด็จพระราชินีอเล็กซานดรา
ดูเหล่า
หน่วยปฏิบัติการพิเศษทางอากาศ เหล่าดุริยางค์ทหารบก เหล่าฝึกกายภาพทหารบก เหล่าโรงเรียนปืนเล็กทหารบก
ไม่มี ไม่มีข้อมูล
กองร้อยทหารปืนใหญ่เกียรติยศ

(เฉพาะเหล่าบริการกลองไม่มีในหน่วยอื่น)

เหล่ายานเกราะ[แก้]

กรมทหารประจำการ
กรมทหารม้ารักษาพระองค์ กรมทหารม้าแห่งราชินีที่ 1 รอยัลสกอตดรากูนรักษาพระองค์ กรมราชองครักษ์มังกร กรมฮัสซาร์แห่งราชินี
รอยัลแลนเซอร์ส กรมฮัสซาร์รักษาพระองค์ ไลท์ดรากูน กรมรถถังหลวง
กรมทหารอาสา
รอยัลเยโอมันรี รอยัลเวสเซกซ์ เยโอมันรี เยโอมันรีสก็อตแลนด์และไอร์แลนด์เหนือ เยโอมันรีรักษาพระราชินี
SNIY TRF

กองบินทหารบก[แก้]

กรมที่ 1 กองบินทหารบก กรมที่ 2 กองบินทหารบก กรมที่ 3 กองบินทหารบก กรมที่ 4 กองบินทหารบก กรมที่ 5 กองบินทหารบก
ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล
กรมที่ 6 กองบินทหารบก กรมที่ 7 กองบินทหารบก กรมที่ 9 กองบินทหารบก
ไม่มีข้อมูล

ทหารราบ[แก้]

กรมทหารราบ
ทหารรักษาพระองค์เดินเท้า กรมทหารหลวงแห่งสกอตแลนด์ กรมทหารหลวงเจ้าหญิงแห่งเวลส์ กรมทหารดยุคแห่งแลงคาสเตอร์ กรมทหารฟิวซิเลียร์
กรมทหารแองเกลีย กรมทหารยอร์กเชียร์ กองทหารเมอร์เซียน รอยัลเวลส์ กรมทหารรอยัลไอริช
ไม่มี
กรมทหารพลร่ม กองพันทหารกูรข่า หน่วยไรเฟิล ลอนดอนการ์ด
ดูเครื่องหมายจำแนกรวดเร็วดรอปโซน
กองพันทหารราบและหน่วยรอง
กองพันที่ 1 กรมทหารฟิวซิเลียร์ กองพันที่ 5 กรมทหารฟิวซิเลียร์
กองพันที่ 1 กรมทหารแองเกลีย กองพันที่ 2 กรมทหารแองเกลีย กองพันที่ 3 กรมทหารแองเกลีย
กองพันที่ 1 กรมทหารเมอร์เซียน กองพันที่ 2 กรมทหารเมอร์เซียน กองพันที่ 3 กรมทหารเมอร์เซียน กองพันที่ 4 กรมทหารเมอร์เซียน
กองบัญชาการ รอยัลเวลส์ กองพันที่ 1 รอยัลเวลส์ กองพันที่ 2 รอยัลเวลส์ กองพันที่ 3 รอยัลเวลส์

เหล่าทหารสารบรรณ[แก้]

สารวัตรทหาร เสนาธิการทหารสารวัตร หน่วยบริการทหารสารวัตรรักษาพระองค์ หน่วยบริการพระธรรมนูญทหารบก หน่วยสนับสนุนเสนาธิการและบุคลากร หน่วยบริการการศึกษาและฝึกอบรม

กองกำลังอาณานิคม[แก้]

กรมทหารยิบรอลตาร์ กรมทหารหมู่เกาะเคย์แมน

การใช้งานในประวัติศาสตร์[แก้]

ในประวัติศาสตร์
รอยัลสกอต อาร์ไกล์ และ ซูเธอร์แลนด์ ไฮแลนเดอร์ส กรมทหารรักษาพระองค์
กองทหารรักษาการณ์ชายแดนส่วนพระองค์ กองอาสาสมัครแลงคาสเตอร์และคัมเบรียน กองทหารยอร์กเชียร์แห่งเจ้าชายแห่งเวลส์ กรีน ฮาวเวิร์ดส กรมทหารดยุคแห่งเวลลิงตัน
กรมทหารไทน์-ทีส์ เมอร์เซียนและแลงคาสเตอร์เยโอมันรี กองพันที่ 2 กรมทหารฟิวซิเลียร์ กรมทหารฮ่องกง

กองทัพอากาศ[แก้]

กองทัพอากาศสหราชอาณาจักร ตำรวจกองทัพอากาศสหราชอาณาจักร

กองกำลังนายร้อย[แก้]

เครื่องหมายจำแนกรวดเร็วทางยุทธวิธีไม่ควรประดับโดยอาสาสมัครผู้ใหญ่ของกองกำลังนายร้อย (Cadet Force Adult Volunteers: CFAV) หรือนักเรียนนายร้อยของกองกำลังนักเรียนนายร้อยกองทัพบกและส่วนกองทัพของกองกำลังนักเรียนนายร้อยร่วม โดยไม่นึกถึงความเกี่ยวข้องใด ๆ กับกองทัพน้อยหรือกรมทหาร[2] นักเรียนนายร้อยแลอาสาสมัครผู้ใหญ่ของกองกำลังนายร้อย จะสวมเครื่องแบบประจำเขตและกองกำลังนักเรียนนายร้อยกองทัพบกและกองกำลังนักเรียนนายร้อยร่วมตามลำดับ[2] นายทหารของกองฝึกทางอากาศและแผนกกองทัพอากาศของกองกำลังนักเรียนนายร้อยร่วม จะสวมเครื่องหมายจำแนกรวดเร็วทางยุทธวิธีของกองทัพอากาศ นายดาบอาวุโสและนายทหารชั้นประทวนจะประดับเครื่องหมายจำแนกรวดเร็วทางยุทธวิธีรูปแบบเดียวกับนายทหารนักเรียนนายร้อยกองทัพอากาศ และนักเรียนนายร้อยสวมเครื่องหมายจำแนกรวดเร็วทางยุทธวิธีรูปขบวนเดียวกับนักเรียนนายร้อยกองทัพอากาศ[3]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. JSP 336 (3rd Edition), Volume 12, Part 3, Pamphlet 15, BADGES, EMBELLISHMENTS AND HEADDRESS (now superseded by JSP 886)
  2. 2.0 2.1 "ARMY DRESS REGULATIONS (ALL RANKS)" (PDF).
  3. "Uniform Dress and Appearance Regulations for the Air Cadet Organization" (PDF). RAF Air Cadets. p. 50. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-11-27. สืบค้นเมื่อ 16 May 2020.