ฮัมซะนะมะ
ฮัมซะนะมะ (เปอร์เซีย/อุรดู: حمزه نامه Hamzenâme มหากาพย์ฮัมซะฮ์) หรือ ดัสตาน-อี-อะมีร ฮัมซะฮ์ (เปอร์เซีย/อุรดู: داستان امیر حمزه Dâstâne Amir Hamze, "การผจญภัยของอะมีร ฮัมซะฮ์") เป็นตำนานที่กล่าวถึงอะมีร ฮัมซะฮ์ หรือฮัมซะฮ์ อิบน์ อับดุลมุฏฏอลิบ ลุงของมุฮัมมัดที่อยู่ในบทวรรณกรรม[1] เรื่องนี้ได้บันทึกเหตุการณ์การผจญภัยของฮัมซะฮ์ในฐานะวีรบุรุษผู้ต่อสู้กับศัตรูของอิสลาม โดยเขียนเป็นร่ายยาวในภาษาเปอร์เซีย
ตัวละครส่วนใหญ่ใน ฮัมซะนะมะ เป็นตัวละครสมมติ ในโลกตะวันตกมักรู้จักจากเอกสารที่ถูกเขียนภายใต้คำสั่งของจักรพรรดิอักบัรในช่วงประมาณปีค.ศ. 1562 โดยมี 46 เล่ม และมีประมาณ 4800 หน้า โดยเนื้อเรื่องของวรรณกรรมเป็นความเป็นจริงเสริม เพราะสิ่งที่อะมีร ฮัมซะฮ์ ได้ขยายอาณาจักรไปกว้างขวางตั้งแต่เบงกอลถึงอาระกัน (พม่า) เป็นเป็นบริเวณที่จักรวรรดิโมกุลควบคุมอยู่[2]
ภาพ
[แก้]-
สายลับผู้จงรักภักดีที่มีชื่อว่าอุมัรที่ถูกจ้างโดยฮัมซะฮ์ ได้พบทางเข้าลับไปยังปราสาทของฟูรัด
-
มีร์ ซัยยิด อะลี, ศาสดาอิลยาส (เอลิยาห์) ช่วยเจ้าชายนูรุดซัร จากการจมน้ำ
-
สงครามมาซันดารัน
-
รายละเอียดของสงครามมาซันดารัน
-
อุมัรสังหารมังกร
-
อุมัรที่ปลอมตัวเป็นมัซมาฮิลนักศัลยแพทย์ ได้หลอกสอนให้กับผู้วิเศษแห่งอันตาลี ประมาณ ค.ศ. 1570.[3]
-
มิฮร์ดุคต์ยิงธนูผ่านช่องแหวน
ตัวละคร
[แก้]ตัวละคร | รายละเอียด |
---|---|
อะมีร ฮัมซะฮ์ | ลุงทางฝ่ายพ่อของมุฮัมมัด |
กุบัด คัมราน | กษัตริย์แห่งอิหร่าน |
อัลก็อช | นายกรัฐมนตรีของกุบัด คัมราน และเป็นผู้รู้โหราศาสตร์ |
เคาะวาญา บัคต์ ญะมาล | ลูกหลานของศาสดาดาเนียล (ไม่ใช่ในชีวิตจริง) ที่รู้เรื่องโหราศาสตร์ และกลายเป็นครูกับเพื่อนของอัลก็อช |
โบโซร์กเมฮ์ร | บุตรของเคาะวาญา บัคต์ ญะมาล |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Beach, 61
- ↑ The Bustan of Amir Hamzah (the Malay version of Dastan-e-Amir Hamza); Farooque Ahmed, The Sangai Express-Imphal, May 25, 2006 Amir Hamza-book review[ลิงก์เสีย]
- ↑ This painting of the "Qissa" (Accession no. 24.49) is identified as Book 11, 84 r. by Sheila Canby and is one of a series of three which depict the entry of Amr and his companions into the fort of Zumurud Shah and his sorcerers disguised as a physician and his attendant.
สารานุกรม
[แก้]- Beach, Milo Cleveland, Early Mughal painting, Harvard University Press, 1987, ISBN 0-674-22185-0, ISBN 978-0-674-22185-7
- "Grove", Oxford Art Online, "Indian sub., §VI, 4(i): Mughal ptg styles, 16th–19th centuries", restricted access.
- Titley, Norah M., Persian Miniature Painting, and its Influence on the Art of Turkey and India, 1983, University of Texas Press, 0292764847
- Farooqi, Musharraf Ali (2007), The Adventures of Amir Hamza (New York: Random House Modern Library).
- The Bustan of Amir Hamzah (the Malay version of the story)
- Musharraf Farooqi (2009), (transl.Tilism-e hoshruba, vol. 1 of Jah):Hoshruba, Book One: The Land and the Tilism, by Muhammad Husain Jah).
- Seyller, John (2002), The Adventures of Hamza, Painting and Storytelling in Mughal India, Freer Gallery of Art and Arthur M. Sackler Gallery, Smithsonian Institution, Washington, DC, in association with Azimuth Editions Limited, London, ISBN 1-898592-23-3 (contains the most complete set of reproductions of Hamzanama paintings and text translations); online
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Kossak, Steven (1997). Indian court painting, 16th-19th century.. New York: The Metropolitan Museum of Art. ISBN 978-0870997839. (see index: p. 148-152; plate 7-8)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Hamzanama
- The Adventures of Amir Hamza - the first complete and unabridged translation of the Dastan-e Amir Hamza
- Online exhibit of The Adventures of Hamza at the Smithsonian Institution เก็บถาวร 2016-04-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- A Masterpiece of Sensuous Communication: The Hamzanama of Akbar (images in pdf file, Section II )
- Hamzanama at the Victoria & Albert Museum, London
- Frances Pritchett's website for 'The Romance Tradition in Urdu: The Adventures from the Dastan-e Amir Hamza