อัลมุฮะมะชีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อัลมุฮะมะชีน
เด็กอัคดามที่ย่านตาอีซ
ประชากรทั้งหมด
500,000 - 3,500,000 (ไม่ทางการ)[1]
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
ซานา, เอเดน, ตาอีซ, ละฮิจญ์, อับยัน, อัลฮุดัยดะฮ์, อัลมุกัลลา
ภาษา
ภาษาอาหรับเยเมน
ศาสนา
อิสลาม
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
บันตู, ชาวแอฟโร-อาหรับ, เอธิโอเปีย, Nilotes และอาหรับเยเมน[2][3][4][5][6]

อัลมุฮะมะชีน (อาหรับ: المهمشين), "คนชายขอบ"; เดิมมีชื่อว่า อัลอัคดาม (อาหรับ: الأخدام, "บริวาร") เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาอาหรับในประเทศเยเมน แม้ว่ามุฮามะชีนเป็นมุสลิมที่พูดภาษาอาหรับเหมือนกับชาวเยเมนส่วนใหญ่[7] พวกเขาถือเป็นชนกลุ่มล่างที่สุดของลำดับวรรณะที่คาดว่าถูกยกเลิกแล้ว พวหเขาถูกแบ่งแยกทางสังคมจากชาวเยเมนกลุ่มอื่นและส่วนใหญ่จำกัดอยู่เฉพาะงานชั้นต่ำในเมืองใหญ่ ๆ ของประเทศ[8] จำนวนประมาณการอย่างไม่เป็นทางการระบุว่า อัลมุฮะมะชีนมีจำนวนระหว่าง 500,000 ถึง 3,500,000 คน[1]

ต้นกำเนิด[แก้]

ถ้ำอัลอัคดามที่ซานาใน ค.ศ. 1942
ชาวอัลอัคดามที่ตาอีซ

ต้นกำเนิดที่ชัดเจนของอัลอัคดามยังไม่เป็นที่แน่ชัด โดยบางส่วนเชื่อว่าพวกเขาเป็นลูกหลานทาสแอฟริกันหรือทหารชาวเอธิโอเปียในคริสต์ศตวรรษที่ 6 ความเชื่อยอดนิยมถือว่าพวกเขาเป็นลูกหลานของชาวเอธิโอเปียที่เข้าร่วมกองทัพอักซุมในช่วงการครอบครองเยเมนสมัยก่อนอิสลาม เมื่อกองทัพอบิสซีเนียถูกขับออกไปในช่วงเริ่มต้นของสมัยอิสลาม ผู้อพยพชาวเอธิโอเปียบางส่วนยังคงอาศัยอยู่ในบริเวณนั้น ให้กำเนิดชาวอัคดัม[9]

การแบ่งแยกเชื้อชาติทางสังคม[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "Yemen's Al-Akhdam face brutal oppression". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-29. สืบค้นเมื่อ 2013-11-29.
  2. Non, Amy L.; Al-Meeri, Ali; Raaum, Ryan L.; Sanchez, Luisa F.; Mulligan, Connie J. (January 2011). "Mitochondrial DNA reveals distinct evolutionary histories for Jewish populations in Yemen and Ethiopia". American Journal of Physical Anthropology. 144 (1): 1–10. doi:10.1002/ajpa.21360. ISSN 1096-8644. PMID 20623605.
  3. Richards, Martin; Rengo, Chiara; Cruciani, Fulvio; Gratrix, Fiona; Wilson, James F.; Scozzari, Rosaria; Macaulay, Vincent; Torroni, Antonio (April 2003). "Extensive female-mediated gene flow from sub-Saharan Africa into near eastern Arab populations". American Journal of Human Genetics. 72 (4): 1058–1064. doi:10.1086/374384. ISSN 0002-9297. PMC 1180338. PMID 12629598.
  4. "Red Crescents: Race, Genetics, and Sickle Cell Disease in Turkey and Aden | SOAS University of London". www.soas.ac.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-30. สืบค้นเมื่อ 2018-12-30.
  5. de Silva Jayasuriya, Shihan (2008-11-01). "Indian Oceanic Crossings: Music of the Afro-Asian Diaspora". African Diaspora. 1 (1–2): 135–154. doi:10.1163/187254608x346079. ISSN 1872-5457.
  6. Washbrook, David (2012), "The World of the Indian Ocean", Routledge Handbook of the South Asian Diaspora, Routledge, doi:10.4324/9780203796528.ch1, ISBN 9780203796528
  7. "YEMEN: Akhdam people suffer history of discrimination". IRINnews. November 2005. สืบค้นเมื่อ 2015-11-28.
  8. Robert F. Worth, "Languishing at the Bottom of Yemen’s Ladder", New York Times, (February 27 2008)
  9. "Muhamasheen". 31 January 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]