อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
อนุสัญญาว่าด้วยการห้ามการพัฒนา, การผลิต, การสะสม และ การใช้อาวุธเคมี และการทำลายอาวุธดังว่า
ประเทศในอนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
วันร่าง3 กันยายน ค.ศ.1992[1]
วันลงนาม13 มกราคม ค.ศ.1993[1]
ที่ลงนามปารีสและนิวยอร์ก[1]
วันมีผล29 เมษายน ค.ศ.1997[1]
เงื่อนไขการให้สัตยาบันทั้ง 65 รัฐ[2]
ผู้ลงนาม165[1]
ภาคี193[1] (รายชื่อกลุ่มของรัฐ)
มี 3 รัฐของสหประชาชาติที่ไม่เข้าร่วม ได้แก่: ประเทศอียิปต์, เกาหลีเหนือ และซูดานใต้
ผู้เก็บรักษาเลขาธิการสหประชาชาติ[3]
ภาษาอาหรับ, จีน, อังกฤษ, ฝรั่งเศส, รัสเซีย และสเปน[4]
ทหารแคนาดาที่ถูกรมด้วยแก๊สมัสตาร์ดในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี (อังกฤษ: Chemical Weapons Convention หรือ CWC) คือความตกลงการควบคุมอาวุธที่ห้ามการผลิต, การสะสม และการใช้อาวุธเคมี

ชื่อเต็ม:Convention on the Prohibition of the Development, Production, Stockpiling and Use of Chemical Weapons and on their Destruction
ภาษาไทย:อนุสัญญาว่าด้วยการห้ามการพัฒนา, การผลิต, การสะสม และ การใช้อาวุธเคมี และการทำลายอาวุธดังว่า

ข้อตกลงปัจจุบันได้รับการบริหารโดยองค์การเพื่อการห้ามอาวุธเคมี (OPCW) ซึ่งเป็นองค์กรอิสระที่มักจะเข้าใจผิดกันว่าเป็นส่วนหนึ่งของสหประชาชาติ

ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2009 ภาคีอนุสัญญาประกอบด้วยสมาชิก 188 ประเทศ[1] และอีกสองประเทศลงนาม แต่ยังมิได้อนุมัติอนุสัญญา[1]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 United Nations Treaty Collection. Convention on the Prohibition of the Development, Production, Stockpiling and Use of Chemical Weapons and on their Destruction เก็บถาวร 2020-04-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Accessed 14 January 2009.
  2. Chemical Weapons Convention, Article 21.
  3. Chemical Weapons Convention, Article 23.
  4. Chemical Weapons Convention, Article 24.

ดูเพิ่ม[แก้]