สายอีสต์ลอนดอน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สายอีสต์ลอนดอน
ข้อมูลทั่วไป
สถานะเปิดให้บริการ[1]
เจ้าของการคมนาคมลอนดอน
ที่ตั้งนครลอนดอนและปริมณฑล
ปลายทาง
  • Highbury & Islington
    Dalston Junction
  • New Cross
    Clapham Junction
    Crystal Palace
    West Croydon
จำนวนสถานี23
การดำเนินงาน
รูปแบบรถไฟฟ้าชานเมือง
ระบบรถไฟเหนือดินลอนดอน
เส้นทาง3
ผู้ดำเนินงานรถไฟเหนือดินลอนดอน
ศูนย์ซ่อมบำรุงNew Cross Gate
ขบวนรถบริติช เรล คลาส 378
ประวัติ
เปิดเมื่อ27 เมษายน ค.ศ. 2010[2]
23 พฤษภาคม ค.ศ. 2010 (เต็มรูปแบบ)[3]
ข้อมูลทางเทคนิค
จำนวนทางวิ่ง2[4]
รางกว้าง1,435 mm (4 ft 8 12 in) สแตนดาร์ดเกจ
ระบบจ่ายไฟ750 โวลต์ จ่ายไฟฟ้ารางที่สาม

สายอีสต์ลอนดอน (อังกฤษ: East London line) ในอดีตเคยเป็นสายหนึ่งใน 12 สายของรถไฟใต้ดินลอนดอน ซึ่งมีสีส้มในแผนที่ มันวิ่งผ่านจากเหนือจรดใต้ผ่านอีสต์เอนด์ และ บริเวณด็อคแลนด์ส ทั้งหมดใน เขต 2 แต่แล้วก็ปิดให้บริการลงในวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2550[5] สำหรับงานก่อสร้างและรถเมล์ให้บริการแทนชั่วคราว

สายอีสต์ลอนดอนกำลังถูกขยายและเปลี่ยนแปลงสำหรับการใช้งานในฐานะ อีสต์ลอนดอนเรลเวย์ (อังกฤษ: East London Railway) และจากปี พ.ศ. 2553 จะเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายรถไฟเหนือดินลอนดอนขององค์การคมนาคมสำหรับลอนดอน อังกฤษ: Transport for London/TfL) สายนี้จะเปลี่ยนจากสายสั้น ๆ เป็นเส้นทางสำคัญในการคมนาคม เนื่องจากสายจะถูกเปลี่ยนเป็นรถไฟที่เชื่อมต่อชานเมืองลอนดอน

อ้างอิง[แก้]

  1. "Dalston Junction to West Croydon". Transport for London. 23 May 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-05. สืบค้นเมื่อ 23 May 2010.
  2. "East London Line officially opened by Boris Johnson". BBC News Online. London. 27 April 2010. สืบค้นเมื่อ 27 April 2010.
  3. Clarke, Megan (21 April 2010). "Party Time for East London Line". London Evening Standard. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-04-23. สืบค้นเมื่อ 23 April 2010.
  4. Even though this would more correctly be 2 for the ELL and a further 2 for the North London Line
  5. "East London Line alternative transport strategy update" (PDF). รถไฟใต้ดินลอนดอน. 2006-11-27. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (pdf)เมื่อ 2007-09-28. สืบค้นเมื่อ 2006-12-24.