วิกิพีเดีย:ปุจฉา-วิสัชนา/กรุ/ภาษา/ตุลาคม 2553

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

คำถาม ตุลาคม 2553

คำว่า สิริกิติ์ อ่านว่าอย่างไรครับ

คำว่า สิริกิติ์ อ่านว่าอย่างไรครับ

--61.19.67.216 17:20, 9 ตุลาคม 2553 (ICT)

มีการกล่าวว่า คำที่ปรากฏทัณฑฆาตแต่ยังคงออกเสียงพยัญชนะอยู่ มีเพียงคำเดียวคือ สิริกิติ์ (อ่านว่า สิ-หฺริ-กิด) อย่างไรก็ตาม ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp ไม่ได้ให้ความหมายของคำดังกล่าว --118.172.213.102 12:54, 10 ตุลาคม 2553 (ICT)

การใชคำในพิธีถวายราชสดุดี

ขอความอนุเคราะห์ท่านผู้รู้ช่วยวิสัชชนาหน่อยครั้บ กระผมเกิดความสงสัยเกี่ยวกับคำกล่าวของประธานในพิธีใช้ คือ (คำกล่าวสดุดีเฉลิมพระเกียรติ / คำกล่าวถวายพระพรชัยมงคล / คำกล่าวอาศิรวาทราชสดุดี ฯ )และคำอื่น ๆ นอกจากนี้ คำเหล่านี้ใช้กับพระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ระดับใด ใช้อย่างไรก็ได้หรืออย่างไร?...ใช้กับ ร.1 / ร.5 / ร.9 / พระบรมวงศ์ใช้อย่างไร ครับ


--223.206.4.212 22:14, 23 ตุลาคม 2553 (ICT)

Itadashimasu

ทำไมคนญี่ปุ่นต้องประกาศว่า "Itadashimasu" ก่อนรับประทานอาหารด้วยละ --octahedron80 22:18, 26 ตุลาคม 2553 (ICT)

เคยถามคนญี่ปุ่นเหมือนกันนะ เค้าว่าเป็นธรรมเนียมอ่ะ แต่บอกว่าไม่มีความหมาย งง เหมือนกัน --125.25.173.95 13:28, 27 ตุลาคม 2553 (ICT)
เป็นประเพณีของเขา ลองอ่านเพิ่มได้ที่ en:Etiquette_in_Japan ผมขอยกมาให้อ่านย่อหน้าหนึ่ง (สังเกตว่าในคำถามพิมพ์มาผิดจาก ki เป็น shi จึงอาจหาความหมายไม่พบ)

Meals in Japan traditionally begin with the phrase itadakimasu (いただきます?) (literally, "I humbly receive"). The phrase is similar to "bon appétit", or saying grace to give thanks before a meal. It is said to express gratitude for all who played a role in preparing, cultivating, ranching or hunting the food. This also acknowledges that living organisms have given their life to human beings as Dāna.[2][3] Upon finishing a meal, the Japanese also use the polite phrase Gochisosama-deshita (ごちそうさまでした, Gochisōsama-deshita?) (lit. Thank you for a good meal) or - more informal/simple - Gochisōsama. Gochisōsama is based on the religious belief where chisō (馳走;ちそう?) means running with efforts (by riding a horse, thereby indicating expedience) to cater foods for the guest. It is then linguistically altered to express gratitude to the effort by adding go and sama as the form of teineigo (丁寧語).[4][5][6][7] To join one's hands in the namasté gesture while saying these words is good manners. (See also Mottainai as buddhist philosophy.)

--taweethaも 11:14, 11 พฤศจิกายน 2553 (ICT)

ภาษารัสเซีย

คำว่าร้านขายยาภาษารัสเซียเขียนอย่างไร-กุ๊ก--1.46.77.161 20:17, 31 ตุลาคม 2553 (ICT)