วอลเลย์บอลชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระจักรพรรดิและสมเด็จพระจักรพรรดินี
หน้าตา
ผู้จัด | สมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศญี่ปุ่น (JVA) |
---|---|
ก่อตั้ง | ค.ศ. 2007 |
ภูมิภาค | ญี่ปุ่น |
จำนวนทีม | 24 ทีม (รอบสุดท้าย) |
การแข่งขันที่เกี่ยวข้อง | วี.ลีก |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | ชาย:พานาโซนิคแพนเทอส์ (2023) หญิง:เอ็นอีซี เรดร็อกเก็ตส์ (2023) |
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด | ชาย:พานาโซนิคแพนเทอส์ (5) หญิง:ฮิซะมิสึสปริงส์ (7) |
เว็บไซต์ | เว็บไซต์ผู้จัดการแข่งขัน (ภาษาญี่ปุ่น) |
วอลเลย์บอลชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระจักรพรรดิและสมเด็จพระจักรพรรดินี (ญี่ปุ่น: 天皇杯・皇后杯全日本バレーボール選手権大会; อังกฤษ: Emperor's Cup and Empress's Cup All Japan Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 2007 และการแข่งขันนี้จัดโดยสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศญี่ปุ่น
เทนโน (天皇) คือพระจักรพรรดิ และโคโง (皇后) คือพระจักรพรรดินีแห่งประเทศญี่ปุ่น ซึ่งมอบถ้วยพระราชทานเทนโนโคโงให้แก่ทีมที่ชนะเลิศการแข่งขัน โดยถ้วยพระราชทานดังกล่าวเคยมอบให้แก่ทีมที่ชนะในการแข่งคุโระวะชิกิออลเจแปนวอลเลย์บอลแชมเปียนชิพจนถึงปี ค.ศ. 2006
ทีมที่ชนะเลิศ
[แก้]ค.ศ. | ชาย | หญิง |
---|---|---|
2007 | เจที ธันเดอร์ | โทเรย์แอร์โรส์ |
2008 | โทเรย์แอร์โรส์ | โตโยต้าออโตบอดีควินซีส์ |
2009 | พานาโซนิคแพนเทอส์ | ฮิซามิตสึสปริงส์ |
2010 | ซันโทรี่ซันเบิดส์ | เด็นโซ่แอรีบีส์ |
2011 | พานาโซนิคแพนเทอส์ | โทเรย์แอร์โรส์ |
2012 | พานาโซนิคแพนเทอส์ | ฮิซามิตสึสปริงส์ |
2013 | โทเรย์แอร์โรส์ | ฮิซามิตสึสปริงส์ |
2014 | เจที ธันเดอร์ | ฮิซามิตสึสปริงส์ |
2015 | โทโยดะโกเซย์เตรฟวยร์ซา | ฮิซามิตสึสปริงส์ |
2016 | โทเรย์แอร์โรส์ | ฮิซามิตสึสปริงส์ |
2017 | พานาโซนิคแพนเทอส์ | โตโยต้าออโตบอดีควินซีส์ |
2018[1] | เจที ธันเดอร์[2] | ฮิซามิตสึสปริงส์[3] |
2019 | ยกเลิกเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19[4] | |
2020[5] | เจเท็กโตะ สติงส์[6] | เจที มาร์เวลลัส[7] |
2021[8] | โวล์ฟด็อกส์ นาโงยะ | ฮิซามิตสึสปริงส์ |
2022 | เจเท็กโตะ สติงส์ | เอ็นอีซี เรดร็อกเก็ตส์ |
2023 | พานาโซนิคแพนเทอส์ | เอ็นอีซี เรดร็อกเก็ตส์ |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "平成30年度 天皇杯・皇后杯 全日本バレーボール選手権大会". jva.or.jp (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 8 June 2021.
- ↑ "平成30年度天皇杯・皇后杯ファイナルラウンド 男子決勝トーナメント戦組合せ表" (ภาษาญี่ปุ่น). jva.or.jp. สืบค้นเมื่อ 8 June 2021.
- ↑ "平成30年度天皇杯・皇后杯ファイナルラウンド 女子 決勝トーナメント戦組合せ表" (ภาษาญี่ปุ่น). JVA. สืบค้นเมื่อ 8 June 2021.
- ↑ "令和元年度 天皇杯・皇后杯 全日本バレーボール選手権大会" (ภาษาญี่ปุ่น). 日本バレーボール協会. สืบค้นเมื่อ 2020-03-02.
- ↑ "平成31年度 天皇杯・皇后杯 全日本バレーボール選手権大会". jva.or.jp (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 8 June 2021.
- ↑ "令和2年度 天皇杯・皇后杯 全日本バレーボール選手権大会 ファイナルラウンド組み合わせ(男子)" (PDF) (ภาษาญี่ปุ่น). JVA. สืบค้นเมื่อ 8 June 2021.
- ↑ "令和2年度 天皇杯・皇后杯 全日本バレーボール選手権大会ファイナルラウンド組み合わせ(女子)" (PDF) (ภาษาญี่ปุ่น). JVA. สืบค้นเมื่อ 8 June 2021.
- ↑ "Wolfdogs Nagoya won the Emperor's Cup for the first time in 5 tournaments for boys, and Hisamitsu Springs won the Empress's Cup for the 8th time in 2 tournaments for girls! Reiwa 3rd year Emperor's Cup / Empress's Cup". Japan Volleyball Association Official web site. Japan Volleyball Association. สืบค้นเมื่อ 22 December 2021.