รายนามประธานาธิบดีเวเนซุเอลา
ประธานาธิบดีเวเนซุเอลา (1830–ปัจจุบัน)[แก้]
รายนามนี่ประกอบด้วย "รักษาการ" เฉพาะกาลรวมถึงประธานาธิบดีที่ปฏิบัติราชการประจำและประธานาธิบดีที่ได้รับการแต่งตั้งตามระบอบประชาธิปไตย (e.g.; มาร์กอส เปเรส ฆิเมเนส).[1][2][3][4][5][6][7][8]
รัฐเวเนซุเอลา (1830–1864)[แก้]
![]() ![]() | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
พรรคอนุรักษ์นิยม (7) พรรคเสรีนิยม (3) อิสระ (1) กองทัพ (3) | ||||||||
№ [9] |
ภาพ | ประธานาธิบดี (เกิด–ถึงแก่อสัญกรรม) |
รัฐ | ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง | สมัย [10] |
พรรค | ||
1 | โฆเซ อันโตเนียว ปาเอซ (1790–1873) |
ปอร์ตูเกซา | 13 มกราคม 1830 – 20 มกราคม 1835 |
1 (1831–35) |
พรรคอนุรักษ์นิยม | |||
2 | ![]() |
อันเดรส นาร์วาร์เต (1781–1853) |
วาร์กัส | 20 มกราคม 1835 – 9 กุมภาพันธ์ 1835 |
พรรคอนุรักษ์นิยม | |||
3 | ![]() |
โฆเซ มาเรีย วาร์กัส (1786–1854) |
วาร์กัส | 9 กุมภาพันธ์ 1835 – 9 กรกฎาคม 1835 |
2 (1835–39) |
พรรคอนุรักษ์นิยม | ||
4 | ![]() |
โฆเซ มาเรีย คาร์เรนโญ่ (1792–1849) |
มิรันดา | 27 กรกฎาคม 1835 – 20 สิงหาคม 1835 |
พรรคอนุรักษ์นิยม | |||
(3) | ![]() |
โฆเซ มาเรีย วาร์กัส (1786–1854) |
วาร์กัส | 20 สิงหาคม 1835 – 24 เมษายน 1836 |
พรรคอนุรักษ์นิยม | |||
(2) | ![]() |
อันเดรส นาร์วาร์เต (1781–1853) |
วาร์กัส | 24 เมษายน 1836 – 20 มกราคม 1837 |
พรรคอนุรักษ์นิยม | |||
(4) | ![]() |
โฆเซ มารีอา คาเรญโญ่ (1792–1849) |
มิรันดา | 27 มกราคม 1837 – 11 มีนาคม 1837 |
พรรคอนุรักษ์นิยม | |||
5 | ![]() |
คาร์ลอส ซูเบลตเต (1789–1870) |
วาร์กัส | 11 มีนาคม 1837 – 1 กุมภาพันธ์ 1839 |
||||
(1) | โฆเซ อันโตนิโอ ปาแอซ (1790–1873) |
ปอร์ตูเกซา | 1 กุมภาพันธ์ 1839 – 28 มกราคม 1843 |
3 (1839–43) |
พรรคอนุรักษ์นิยม | |||
(5) | ![]() |
คาร์ลอส ซูเบลตเต (1789–1870) |
วาร์กัส | 28 มกราคม 1843 – 20 มกราคม 1847 |
4 (1843–47) |
พรรคอนุรักษ์นิยม | ||
6 | ![]() |
โฆเซ ทาเดโอ โมนากัส (1784–1868) |
โมนากัส | 20 มกราคม 1847 – 5 กุมภาพันธ์ 1851 |
5 (1847–51) |
พรรคอนุรักษ์นิยม | ||
7 | ![]() |
โฆเซ เกรกอริโอ โมนากัส (1795–1858) |
โมนากัส | 5 กุมภาพันธ์ 1851 – 20 มกราคม 1855 |
6 (1851–55) |
พรรคเสรีนิยม | ||
(6) | ![]() |
โฆเซ ทาเดโอ โมนากัส (1784–1868) |
โมนากัส | 20 มกราคม 1855 – 15 มีนาคม 1858 |
7 (1855–60) |
พรรคเสรีนิยม | ||
8 | ![]() |
เปโดร กวล เอสกานดอน (1783–1862) |
คาราคัส | 15 มีนาคม 1858 – 18 มีนาคม 1858 |
พรรคเสรีนิยม | |||
9 | ![]() |
ฆูเลียน คาสโตร (1810–1875) |
มิรันดา | 18 มีนาคม 1858 – 2 สิงหาคม 1859 |
กองทัพ | |||
(8) | ![]() |
เปโดร กวล เอสกันดอน (1783–1862) |
คาราคัส | 2 สิงหาคม 1859 – 29 กันยายน 1859 |
อิสระ | |||
10 | ![]() |
มานูเอล เฟลิเป เด โทวาร์ (1803–1866) |
29 กันยายน 1859 – 20 พฤษภาคม 1861 |
พรรคเสรีนิยม | ||||
8 (1860–64) | ||||||||
(8) | ![]() |
เปโดร กวล เอสกันดอน (1783–1862) |
คาราคัส | 20 พฤษภาคม 1861 – 29 สิงหาคม 1861 |
พรรคเสรีนิยม | |||
(1) | โฆเซ อันโตนิโอ ปาแอซ (1790–1873) |
ปอร์ตูเกซา | 29 สิงหาคม 1861 – 15 มิถุนายน 1863 |
กองทัพ | ||||
11 | ![]() |
ฆวน คริซอสโตโม ฟัลกอน (1820–1870) |
ฟัลกอน | 15 มิถุนายน 1863 – 25 เมษายน 1868 |
กองทัพ | |||
9 (1864–73) |
สหรัฐเวเนซุเอลา (1864–1953)[แก้]
![]() ![]() | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
พรรคปฏิการประชาธิปไตย (3) พรรคอนุรักษ์นิยม (1) พรรคเสรีนิยม (8) อิสระ (6) กองทัพ (6) | ||||||||
№ [9] |
ภาพ | ประธานาธิบดี (กำเนิด–อสัญกรรม) |
รัฐ | ดำรงตำแหน่ง | สมัย [10] |
พรรค | ||
(11) | ![]() |
ฆวน คริซอสโตโม ฟัลกอน (1820–1870) |
ฟัลกอน | 15 มิถุนายน 1863 – 25 เมษายน 1868 |
9 (1864–73) |
กองทัพ | ||
12 | ![]() |
มานูเอล เอเซเกียล บรูซวล (1832–1868) |
แมกดาเลนา (กรานโคลอมเบีย) |
25 เมษายน 1868 – 28 มิถุนายน 1868 |
อิสระ | |||
13 | ![]() |
กิเลอโม เทล วิเลกัส (1823–1907) |
คาราโบโบ | 28 มิถุนายน 1868 – 20 กุมภาพันธ์ 1869 |
พรรคเสรีนิยม | |||
14 | ![]() |
โฆเซ รูเปอร์โต โมนากัม (1831–1880) |
โมนากัส | 20 กุมภาพันธ์ 1869 – 16 เมษายน 1870 |
กองทัพ | |||
(13) | ![]() |
กิเลอโม เทล วิเลกัส (1823–1907) |
คาราโบโบ | 16 เมษายน 1870 – 27 เมษายน 1870 |
พรรคเสรีนิยม | |||
15 | อันโตนิโอ กุซมาน บลันโก (1829–1899) |
คาราคัส | 27 เมษายน 1870 – 27 กุมภาพันธ์ 1877 |
พรรคเสรีนิยม | ||||
10 (1873–77) | ||||||||
16 | ![]() |
ฟรานซิสโก ลินาเรส อัลกันตารา (1825–1878) |
อารากัว | 27 กุมภาพันธ์ 1877 – 30 พฤศจิกายน 1878 |
11 (1877–82) |
พรรคเสรีนิยม | ||
17 | ![]() |
โฆเซ่ เกรโกริโอ วาเลรา (1826–1896) |
30 พฤศจิกายน 1878 – 26 กุมภาพันธ์ 1879 |
พรรคเสรีนิยม | ||||
(15) | อันโตนิโอ กุซมาน บลันโก (1829–1899) |
คาราคัส | 26 กุมภาพันธ์ 1879 – 26 เมษายน 1884 |
พรรคเสรีนิยม | ||||
12 (1882–88) | ||||||||
18 | ![]() |
โฆอากวีน เครสโป (1830–1898) |
อารากัว | 26 เมษายน 1884 – 15 กันยายน 1886 |
พรรคเสรีนิยม | |||
(15) | อันโตนิโอ กุซมาน บลันโก (1829–1899) |
คาราคัส | 15 กันยายน 1886 – 8 สิงหาคม 1887 |
พรรคเสรีนิยม | ||||
19 | ![]() |
เฮอโมเชเนส โลเปซ (1830–1898) |
คาราโบโบ | 8 สิงหาคม 1887 – 2 กรกฎาคม 1888 |
อิสระ | |||
20 | ![]() |
ฆวน ปาโบล โรฆาส ปาอูล (1826–1905) |
คาราคัส | 2 กรกฎาคม 1888 – 19 มีนาคม 1890 |
13 (1888–90) |
พรรคเสรีนิยม | ||
21 | ![]() |
เรมันโด อันเดซา ปาลาซิโอ (1846–1900) |
ปอร์ตูเกซา | 19 มีนาคม 1890 – 17 มิถุนายน 1892 |
14 (1890–94) |
พรรคอนุรักษ์นิยม | ||
(13) | ![]() |
กิเยอโม เตล วิเลกัส (1823–1907) |
คาราโบโบ | 17 มิถุนายน 1892 – 31 สิงหาคม 1892 |
พรรคเสรีนิยม | |||
22 | ![]() |
กิเยอโม เตล วิเลกัส ปูลิโด (1854–1949) |
บารินาส | 31 สิงหาคม 1892 – 7 ตุลาคม 1892 |
พรรคเสรีนิยม | |||
(18) | ![]() |
โฆอากวีน เครสโป (1841–1898) |
อารากัว | 7 ตุลาคม 1892 – 28 กุมภาพันธ์ 1898 |
กองทัพ | |||
15 (1894–98) | ||||||||
23 | ![]() |
อิกนาซิโอ อันดราเด (1839–1925) |
เมริดา | 28 กุมภาพันธ์ 1898 – 20 ตุลาคม 1899 |
16 (1898–08) |
พรรคเสรีนิยม | ||
24 | ![]() |
ไซปริอาโน คาสโตร (1858–1924) |
ทาชิรา | 20 ตุลาคม 1899 – 19 ธันวาคม 1908 |
กองทัพ | |||
25 | ![]() |
ฆวน บิเซนเต โกเมซ (1857–1935) |
ทาชิรา | 19 ธันวาคม 1908 – 5 สิงหาคม 1913 |
17 (1908–14) |
กองทัพ | ||
26 | ![]() |
โฆเซ กิล ฟอร์ตุล (1861–1943) |
ลารา | 5 สิงหาคม 1913 – 19 เมษายน 1914 |
อิสระ | |||
27 | ![]() |
วิกเตอร์ริโน มาร์เกซ บัสติโยส (1858–1941) |
ปอร์ตูเกซา | 19 เมษายน 1914 – 24 มิถุนายน 1922 |
18 (1914–22) |
อิสระ | ||
(25) | ![]() |
ฆวน บิเซนเต โกเมส (1857–1935) |
ทาชิรา | 24 มิถุนายน 1922 – 30 พฤษภาคม 1929 |
19 (1922–29) |
กองทัพ | ||
28 | ![]() |
ฆวน โบติสตา เปเรซ (1869–1952) |
คาราคัส | 30 พฤษภาคม 1929 – 13 มิถุนายน 1931 |
20 (1929–31) |
อิสระ | ||
(25) | ![]() |
ฆวน บิเซนเต โกเมส (1857–1935) |
ทาชิรา | 13 มิถุนายน 1931 – 17 ธันวาคม 1935 |
21 (1931–36) |
Military | ||
29 | ![]() |
เอเลซาร์ โลเปซ คอนเทรราส (1883–1973) |
ทาชิรา | 18 ธันวาคม 1935 – 5 พฤษภาคม 1941 |
อิสระ | |||
22 (1936–41) | ||||||||
30 | อิเซียส เมดีนา อันการิตา (1897–1953) |
ทาชิรา | 5 พฤษภาคม 1941 – 18 ตุลาคม 1945 |
23 (1941–48) |
พรรคประชาธิปไตย | |||
31 | โรมูโล เบตานกกูร์ต (1908–1981) |
มิรันดา | 18 ตุลาคม 1945 – 17 กุมภาพันธ์ 1948 |
พรรคปฏิการประชาธิปัตย์ | ||||
32 | ![]() |
โรมูโล กัลเลกอส (1884–1969) |
คาราคัส | 17 กุมภาพันธ์ 1948 – 24 พฤศจิกายน 1948 |
24 (1948–52) |
พรรคปฏิการประชาธิปัตย์ | ||
33 | ![]() |
คาร์ลอส เดลกาโด ชาลโบด์ (1909–1950) |
คาราคัส | 24 พฤศจิกายน 1948 – 30 พฤศจิกายน 1950 |
กองทัพ | |||
34 | ![]() |
เจอร์มาน ซัวเรส ฟลาเมอริช (1907–1990) |
คาราคัส | 30 พฤศจิกายน 1950 – 2 ธันวาคม 1952 |
อิสระ |
สาธารณรัฐเวเนซุเอลา (1953–1999)[แก้]
เวเนซุเอลาใช้ชื่อ สาธารณรัฐเวเนซุเอลา (สเปน: República de Venezuela) พร้อมกับการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ค.ศ. 1953 อันเขียนโดยคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ ได้รับเลือกในเดือนพฤศจิกายน 1952.
![]() ![]() | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ปฏิการประชาธิปัตย์ (5) โคเป (2) National Convergence (1) อิสระ (2) รัฐบาลทหาร (1) | ||||||||
№ [9] |
Portrait | ประธานาธิบดี (กำเนิด–อสัญกรรม) |
รัฐ | ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง | สมัย [10] |
พรรค | ||
35 | มาร์กอส เปเรซ ฆิเมเนส (1914–2001) |
ทาชิรา | 2 ธันวาคม 1952 – 23 มกราคม 1958 |
25 (1952) |
กองทัพ | |||
36 | ![]() |
โวล์ฟกัง ลาร์ราซาบาล (1911–2003) |
ซูเคร | 23 มกราคม 1958 – 14 พฤศจิกายน 1958[11] |
อิสระ | |||
37 | ![]() |
เอ็ดการ์ ซานาเบรีย (1911–1989) |
คาราคัส | 14 พฤศจิกายน 1958 – 13 กุมภาพันธ์ 1959[11] |
อิสระ | |||
(31) | ![]() |
โรมูโล เบตานคูร์ต (1908–1981) |
มิรันดา | 13 กุมภาพันธ์ 1959 – 13 มีนาคม 1964 |
26 (1958) |
พรรคปฏิการประชาธิปัตย์ | ||
38 | ![]() |
ราอุล เลโอนี (1905–1972) |
โบลิวาร์ | 13 มีนาคม 1964 – 11 มีนาคม 1969 |
27 (1963) |
พรรคปฏิการประชาธิปัตย์ | ||
39 | ![]() |
ราฟาเอล กัลเดอรา (1916–2009) |
ยารากวัย | 11 มีนาคม 1969 – 12 มีนาคม 1974 |
28 (1968) |
โคเป | ||
40 | ![]() |
คาร์ลอส อันเดรส เปเรส (1922–2010) |
ทาชิรา | 12 มีนาคม 1974 – 12 มีนาคม 1979 |
29 (1973) |
พรรคปฏิการประชาธิปัตย์ | ||
41 | ![]() |
ลูอิส เฮอเราา กัมปินส์ (1925–2007) |
ปอร์ตุเกซา | 12 มีนาคม 1979 – 2 กุมภาพันธ์ 1984 |
30 (1978) |
โคเป | ||
42 | ไฆเม ลูซินชี (1924–2014) |
อันโซอาเตกี | 2 February 1984 – 2 February 1989 |
31 (1983) |
พรรคปฏิการประชาธิปัตย์ | |||
(40) | ![]() |
คาร์ลอส อันเดรส เปเรส (1922–2010) |
ทาชิรา | 2 February 1989 – 21 May 1993[12] |
32 (1988) |
พรรคปฏิการประชาธิปัตย์ | ||
43 | ![]() |
ออกตาวิโอ เลปาเช (1923–2017) |
Anzoátegui | 21 May 1993 – 5 June 1993 |
พรรคปฏิการประชาธิปัตย์ | |||
44 | ![]() |
รามอน โฆเซ เวลาซเกวซ (1916–2014) |
ทาชิรา | 5 มิถุนายน 1993 – 2 กุมภาพันธ์ 1994 |
พรรคปฏิการประชาธิปัตย์ | |||
(39) | ![]() |
ราฟาเอล กัลเดอรา (1916–2009) |
ยารากวัย | 2 กุมภาพันธ์ 1994 – 2 กุมภาพันธ์ 1999 |
33 (1993) |
National Convergence |
สาธารณรัฐโบลิวาร์แห่งเวเนซุเอลา (1999–ปัจจุบัน)[แก้]
เวเนซุเอลาเปลี่ยนชื่อเป็น "สาธารณรัฐโบลิวาร์แห่งเวเนซุเอลา" (สเปน: República Bolivariana de Venezuela) จากการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ 1999, โดยเปลี่ยนชื่อประเทศเพื่อเป็นเกียรติแก่ไซมอน โบลิวาร์ รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ถูกประกาศใช้โดยประธานาธิบดีอูโก ซาเวซ, ซึ่งดำรงตำแหน่ง โดยนิตินัย ตั้งแต่ค.ศ. 1999 ถึงมรณกรรมของเขาในค.ศ. 2013. รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ได้เพิ่มวาระประธานาธิบดีจาก 5ปีเป็น6 ปี
มีความพยายามจะโค่นล้มซาเวซช่วงสั้น ๆ ในค.ศ. 2002 แต่ล้มเหลว ความพยายามรัฐประหาร ทำให้ เปโดร คาโมนา อยู่ในตำแหน่ง 1 วัน หลังกองกำลังที่ภักดีต่อรัฐบาลขับไล่คาโมนาจากทำเนียบมิราฟลอเรซ, รองประธานาธิบดี ดิออสดาโด คาเบลโล ควบคุมสถานการณ์ได้จนกระทั่งชาเวซกลับมามีอำนาจ ค.ศ. 2009, ประชามติ รัฐธรรมนูญ อนุมัติให้ยกเลิกการจำกัดวาระเพียงสมัยเดียวอันเปิดทางให้ชาเวซได้รับเลือกอีกครั้งในค.ศ. 2012. อย่างไรก็ตาม, ชาเวซ ถึงแก่อสัญกรรม ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2013, เพียง 3 เดือนในการดำรงตำแหน่งสมัยที่ 4 และถูกสืบทอดโดยรองประธานาธิบดีนิโคลัส มาดูโรซึ่งได้รับเลือก เดือนถัดมาเพื่อให้ครบวาระของซาเวซ, การบังคับใช้นโยบายเศรษฐกิจที่เข้มข้นขึ้น
![]() ![]() | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
№ [9] |
รูป | ประธานาธิบดี (กำเนิด–อสัญกรรม) |
รัฐ | ดำรงตำแหน่ง | สมัย [10] |
พรรค | ||
45 | ![]() |
อูโก ชาเวซ (1954–2013) |
บารินัส | 2 กุมภาพันธ์ 1999 – 5 มีนาคม 2013 |
34[13] (1998) (2000) |
ขบวนการสาธารณรัฐที่ 5 | ||
35 (2006) |
สหภาพสังคมนิยม | |||||||
36[14] (2012) (2013) | ||||||||
46 (สมัยที่ 2 ยังเป็นที่ถกเถียง) | ![]() |
นิโคลัส มาดูโร (1962–) |
คาราคัส | 5 มีนาคม 2013 – ปัจจุบัน | ||||
37 (2018) |
ประธานาธิบดีที่รัฐสภารับรองระหว่างวิกฤติการณ์ประธานาธิบดี[แก้]
![]() ![]() | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
№ [9] |
รูป | ประธานาธิบดี (Birth–Death) |
รัฐ | Term of office | Term [10] |
พรรค | ||
47 | ![]() |
ฆวน กุยโด (1983–) |
วาร์กัส | 23 มกราคม 2019 – ปัจจุบัน |
37 (2018) |
เจตจำนงประชาชน |
เชิงอรรถ[แก้]
- ↑ CALDERA, Rafael. «De Carabobo a Puntofijo: los Causahabientes». Editorial Libros Marcados. Quinta Edición. 2008.
- ↑ FERNANDEZ, Alfredo. «Venezuela: sus presidentes y constituciones». Organización Gráfica Capriles. 2006. Depósito Legal lf25220069002436.
- ↑ CAMEJO, Armando. «Historia de Venezuela: documental y crítica». Ediciones Paz Pérez. 1965.
- ↑ FERNANDEZ PAEZ, Carmelo. «Memorias». Ediciones de la Presidencia de la República. 1983.
- ↑ GONZÁLEZ GUINAN, Francisco. «Historia Contemporánea de Venezuela TOMO XI». Ediciones de la Presidencia de la República. 1954.
- ↑ RODRIGUEZ ITURBE, José. «Iglesia y Estado en Venezuela (1824-1964)». Universidad Central de Venezuela, Facultad de Derecho. 1968.
- ↑ SALCEDO, Bastardo. «Historia Fundamental de Venezuela». Universidad Central de Venezuela. Ediciones de Biblioteca, Segunda edición. 1972.
- ↑ USLAR PIETRI, Arturo. «Cuéntame a Venezuela». Editorial Lisbona S.A.. 1981-82.
- ↑ 9.0 9.1 9.2 9.3 9.4 For the purposes of numbering, a presidency is defined as an uninterrupted period of time in office served by one person. For example, Carlos Soublette was both the 8th and 10th President because the two periods where he was president were not consecutive. A period during which a vice-president temporarily becomes acting president under the Constitution is not a presidency, because the president remains in office during such a period.
- ↑ 10.0 10.1 10.2 10.3 10.4 For the purposes of numbering, a term is a period between two presidential elections. Some terms might be longer than originally expected due to coup d'états or the installation of military dictatorships, thus extending the time between two elections. Venezuela's unique history has allowed several presidents to serve during a single term, as well as some presidents, such as Jose Maria Vargas, serving twice during a single term.
- ↑ 11.0 11.1 Larrazábal resigned early to challenge Rómulo Betancourt at the 1958 election, leaving Edgar Sanabria as acting president until the end of his term, on 13 February 1959.
- ↑ Octavio Lepage, then President of Congress, served as acting president from 21 May 1993 and until 5 June 1993, when Ramón José Velásquez was formally selected to succeed Perez as president.
- ↑ Hugo Chávez's first term as president began in February 1999 and is generally considered to last until August 2000, with his second term taking place after he was confirmed during the presidential elections of 2000 as part of the country's constitutional assembly. Therefore, many historians consider the period between August 2000 and January 2007 as Chávez's second term. However, this list considers the period between February 1999 and January 2007 as a single period.
- ↑ Despite being elected and sworn to office in April 2013 after the special presidential elections, Nicolás Maduro's term in office is counted from February 2013, which is when the 36th term was originally set to begin.
![]() |
บทความนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล หมายเหตุ: ขอแนะนำให้จัดหมวดหมู่โครงให้เข้ากับเนื้อหาของบทความ (ดูเพิ่มที่ วิกิพีเดีย:โครงการจัดหมวดหมู่โครงที่ยังไม่สมบูรณ์) |