ฟุตบอลโลกหญิง 2015 รอบคัดเลือก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รอบคัดเลือกฟุตบอลโลกหญิง 2015 จำนวนของทีมในการแข่งขันรอบแบ่งกลุ่มจะขยายจาก 16 ทีม ไปเป็น 24 ทีม โดยมีจำนวนของการแข่งขันเพิ่มขึ้นจาก 32 คู่ ไปเป็น 52 คู่[1] เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 2012 ทางฟีฟ่าได้ประกาศให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดสรรการคัดเลือกตำแหน่งของสหพันธ์ภาคพื้นทวีป คณะกรรมการบริหารฟีฟ่าได้อนุมัติการจัดสรรตาราง และแบ่งสายของแปดทีมใหม่ดังต่อไปนี้:[2]

  • เอเอฟซี (เอเชีย): 5 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 3)
  • ซีเอเอฟ (แอฟริกา): 3 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 2)
  • คอนคาแคฟ (อเมริกาเหนือ/กลาง, แคริบเบียน): 3.5+เจ้าภาพ 1 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 2.5)
  • คอนเมบอล (อเมริกาใต้): 2.5 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 2)
  • โอเอฟซี (โอเชียเนีย): 1 ประเทศ (เช่นเดียวกับ ค.ศ. 2011)
  • ยูฟ่า (ยุโรป): 8 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 4.5+1)

ทีมที่ผ่านการรับรอง[แก้]

ทีม ลำดับที่ได้
รับการคัดเลือก
วิธีที่ผ่าน
การคัดเลือก
วันที่ได้
รับการคัดเลือก
สมัยที่ได้แข่ง
ฟุตบอลโลกหญิง
ปรากฏตัว
ครั้งล่าสุด
ผลการแข่งที่ดีที่สุด
ครั้งที่ผ่านมา
อันดับโลกฟีฟ่า
ขณะเริ่มการแข่ง
ธงชาติแคนาดา แคนาดา 1 เจ้าภาพ 3 มีนาคม 2011 ครั้งที่ 6 ค.ศ. 2011 อันดับสี่ (2003) 8
ธงชาติจีน จีน 2 ห้าอันดับแรกฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 17 พฤษภาคม 2014 ครั้งที่ 6 ค.ศ. 2007 รองชนะเลิศ (ค.ศ. 1999) 14
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 ห้าอันดับแรกฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 17 พฤษภาคม 2014 ครั้งที่ 2 ค.ศ. 2003 รอบแบ่งกลุ่ม (ค.ศ. 2003) 17
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 4 ห้าอันดับแรกฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 18 พฤษภาคม 2014 ครั้งที่ 7 ค.ศ. 2011 ผู้ชนะเลิศ (ค.ศ. 2011) 3
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 5 ห้าอันดับแรกฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 18 พฤษภาคม 2014 ครั้งที่ 6 ค.ศ. 2011 รอบก่อนรองรองชนะเลิศ (ค.ศ. 2007) 10
ธงชาติไทย ไทย 6 ห้าอันดับแรกฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 21 พฤษภาคม 2014 ครั้งที่ 1 เปิดตัวครั้งแรก 30
ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 7 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 3 15 มิถุนายน 2014 ครั้งที่ 1 เปิดตัวครั้งแรก 18
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ 8 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 6 21 สิงหาคม 2014 ครั้งที่ 4 ค.ศ. 2011 รอบก่อนรองชนะเลิศ (1995, 2007, 2011) 7
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ 9 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 5 13 กันยายน 2014 ครั้งที่ 7 ค.ศ. 2011 ผู้ชนะเลิศ (1995) 9
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 10 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 1 13 กันยายน 2014 ครั้งที่ 7 ค.ศ. 2011 ผู้ชนะเลิศ (2003, 2007) 8
ธงชาติสเปน สเปน 11 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 2 13 กันยายน 2014 ครั้งที่ 1 เปิดตัวครั้งแรก 16
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 12 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 7 13 กันยายน 2014 ครั้งที่ 3 ค.ศ. 2011 อันดับสี่ (ค.ศ. 2011) 4
ธงชาติสวีเดน สวีเดน 13 ยูฟ่า – อันดับที่ 1 ของกลุ่ม 4 17 กันยายน 2014 ครั้งที่ 7 ค.ศ. 2011 รองชนะเลิศ (2003) 5
ธงชาติบราซิล บราซิล 14 สองอันดับแรก โกปาอาเมริกา 26 กันยายน 2014 ครั้งที่ 7 ค.ศ. 2011 รองชนะเลิศ (ค.ศ. 2007) 6
ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 15 สองอันดับแรกโกปาอาเมริกา 28 กันยายน 2014 ครั้งที่ 2 ค.ศ. 2011 รอบคัดเลือก (ค.ศ. 2011) 31
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย 16 สามอันดับแรก ฟุตบอลหญิงแอฟริกาแชมเปียนส์ชิพ 2014 22 ตุลาคม 2014 ครั้งที่ 7 ค.ศ. 2011 รองชนะเลิศ (ค.ศ. 1999) 35
ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน 17 สามอันดับแรก ฟุตบอลหญิงแอฟริกาแชมเปียนส์ชิพ 2014 22 ตุลาคม 2014 ครั้งที่ 1 เปิดตัวครั้งแรก 51
ธงชาติคอสตาริกา คอสตาริกา 18 สามอันดับแรก ฟุตบอลหญิงคอนคาเคฟแชมเปียนส์ชิพ 2014 24 ตุลาคม 2014 ครั้งที่ 1 1 เปิดตัวครั้งแรก 40
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 19 สามอันดับแรก ฟุตบอลหญิงคอนคาเคฟแชมเปียนส์ชิพ 2014 24 ตุลาคม 2014 ครั้งที่ 7 7 ผู้ชนะเลิศ (1991, 1999) 1
ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์ 20 สามอันดับแรก ฟุตบอลหญิงแอฟริกาแชมเปียนส์ชิพ 2014 25 ตุลาคม 2014 ครั้งที่ 1 เปิดตัวครั้งแรก 64
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 21 สามอันดับแรก ฟุตบอลหญิงคอนคาเคฟแชมเปียนส์ชิพ 2014 26 ตุลาคม 2014 ครั้งที่ 3 2 รอบแบ่งกลุ่ม (ค.ศ. 1999, ค.ศ. 2011) 25
ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 22 ผู้ชนะ ฟุตบอลหญิงโอเชียเนียเนชั่นคัพ 2014 29 ตุลาคม 2014 ครั้งที่ 4 3 รอบแบ่งกลุ่ม (1991, 2007, 2011) 19
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 23 ผู้ชนะ รอบตัดเชือกโซนยุโรป 27 พฤศจิกายน 2014 ครั้งที่ 1 - เปิดตัวครั้งแรก 15
ธงชาติเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ 24 ผู้ชนะ รอบตัดเชือกโซนอเมริกา 2 ธันวาคม 2014 ครั้งที่ 1 - เปิดตัวครั้งแรก 49

การแข่งขันรอบคัดเลือก[แก้]

สหพันธ์ฟุตบอล การแข่งขัน ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขัน Nations still able to qualify โควตา Slots เริ่มการแข่งขัน สิ้นสุดการแข่งขัน
เอเอฟซี (เอเชีย) ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 20 0 5 5 21 พฤษภาคม 2556 21 พฤษภาคม 2557
ซีเอเอฟ (แอฟริกา) ฟุตบอลหญิงแอฟริกาแชมเปียนส์ชิพ 2014 26 0 3 3 14 กุมภาพันธ์ 2556 25 ตุลาคม 2557
คอนคาแคฟ
(อเมริกาเหนือ/กลาง, แคริบเบียน)
ฟุตบอลหญิงคอนคาเคฟแชมเปียนส์ชิพ 2014 28+11 1 3+1 3+1 หรือ 4+1 19 พฤษภาคม 2557 2 ธันวาคม 2557
คอนเมบอล (อเมริกาใต้) ฟุตบอลหญิงโกปาอาเมริกา 2014 10 1 2 2 หรือ 3 11 กันยายน 2557 2 ธันวาคม 2557
โอเอฟซี (โอเชียเนีย) ฟุตบอลหญิงโอเชียเนียเนชั่นคัพ 2014 4 0 1 1 25 ตุลาคม 2557 29 ตุลาคม 2557
ยูฟ่า (ยุโรป) รอบคัดเลือกฟุตบอลโลกหญิง ฟีฟ่า ยูฟ่า 2014 46 0 8 8 4 เมษายน 2556 27 พฤศจิกายน 2557
รวม 134+1 2 22+1 23+1 4 เมษายน 2013 2 ธันวาคม 2014
  • 1 30 nations started, but Martinique and Guadeloupe are not eligible for World Cup qualification. They are only members of CONCACAF and not FIFA.

ทวีปเอเชีย[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

แปดทีมจะได้รับการแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มละสี่ทีม โดยแต่ละทีมจะต้องเคยพบกับทีมในกลุ่มของตนหนึ่งครั้ง และสองทีมที่ชนะของแต่ละกลุ่มจะเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ ส่วนทีมที่ได้อันดับสามของทั้งสองกลุ่มจะเข้าแข่งขันเพื่อชิงที่ห้าและผ่านการคัดเลือกเข้าสู่ฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย.

ฟุตบอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น, ออสเตรเลีย, สาธารณรัฐประชาชนจีน และ สาธารณรัฐเกาหลีใต้ เข้ารอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ. ทีมชาติเวียตนาม และ ทีมชาติไทย แข่งขันรอบตัดเชือกอันดับห้า.

รอบเพลย์ออฟอันดับห้า[แก้]

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
เวียดนาม ธงชาติเวียดนาม 1–2 ธงชาติไทย ไทย

ฟุตบอลหญิงทีมชาติไทย ได้เข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลโลกหญิงเป็นครั้งแรก.

ทวีปแอฟริกา[แก้]

แปดทีมจะได้รับการแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มละสี่ทีม โดยแต่ละทีมจะต้องเคยพบกับทีมในกลุ่มของตนหนึ่งครั้ง ส่วนทีมที่ได้อันดับสองของทั้งสองกลุ่มจะเข้าแข่งขันเพื่อชิงที่สามและผ่านการคัดเลือกเข้าสู่ฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย.

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

รอบน๊อกเอาต์[แก้]

ฟุตบอลหญิงแอฟริกาแชมเปียนส์ชิพ 2014 ไนจีเรีย, แคเมอรูน และ โกตติวัวร์ ผ่านเข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลโลกหญิง.

ทวีปอเมริกาเหนือ[แก้]

แปดทีมจะได้รับการแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มละสี่ทีม โดยแต่ละทีมจะต้องเคยพบกับทีมในกลุ่มของตนหนึ่งครั้ง และสองทีมที่ชนะของแต่ละกลุ่มจะเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ ส่วนทีมที่ได้อันดับสามจะเข้าแข่งขันรอบตัดเชือกโซนอเมริกา.

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

รอบน๊อกเอาต์[แก้]

2014 CONCACAF Women's Championship สหรัฐอเมริกา, คอสตาริกา และเม็กซิโก ผ่านเข้ารอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ. ตรินิแดดและโตเบโก แข่งขันรอบตัดเชือกโซนอเมริกา.

ทวีปอเมริกาใต้[แก้]

แปดทีมจะได้รับการแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มละสี่ทีม โดยแต่ละทีมจะต้องเคยพบกับทีมในกลุ่มของตนหนึ่งครั้ง และสองทีมที่ชนะของแต่ละกลุ่มจะเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ ส่วนทีมที่ได้อันดับสามจะเข้าแข่งขันรอบตัดเชือกโซนอเมริกา.

รอบแรก[แก้]

รอบที่สอง[แก้]

ทีม เล่น
ชนะ
เสมอ
แพ้
ได้
เสีย
ต่าง
คะแนน
ธงชาติบราซิล บราซิล 3 2 1 0 10 0 +10 7
ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 3 1 2 0 2 1 +1 5
ธงชาติเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ 3 1 0 2 4 8 −4 3
ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 3 0 1 2 2 9 −7 1

บราซิล และ โคลอมเบีย เข้ารอบสุดท้ายหญิงโดยอัตโนมัติ. เอกวาดอร์ แข่งขันรอบตัดเชือกโซนอเมริกา.

รอบเพลย์ออฟโซนอเมริกา[แก้]

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
เอกวาดอร์ ธงชาติเอกวาดอร์ 1–0 ธงชาติตรินิแดดและโตเบโก ตรินิแดดและโตเบโก 0–0 1–0

เอกวาดอร์ ได้เข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลโลกหญิงเป็นครั้งแรก.

ทวีปโอเชียเนีย[แก้]

รองชิงชนะเลิศ[แก้]

ทีม เล่น
ชนะ
เสมอ
แพ้
ได้
เสีย
ต่าง
คะแนน
ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 3 3 0 0 30 0 +30 9
ธงชาติปาปัวนิวกินี ปาปัวนิวกินี 3 2 0 1 7 4 +3 6
ธงชาติหมู่เกาะคุก หมู่เกาะคุก 3 0 1 2 2 16 −14 1
ธงชาติตองงา ตองงา 3 0 1 2 1 20 −19 1

นิวซีแลนด์ เข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลโลกหญิงโดยอัตโนมัติ.

ทวีปยุโรป[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

เยอรมนี, สเปน, สวิตเซอร์แลนด์, สวีเดน, นอร์เวย์, อังกฤษ และ ฝรั่งเศส เข้ารอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ. อิตาลี, สก็อตแลนด์, เนเธอร์แลนด์ และ ยูเครน แข่งขันรอบตัดเชือก.

รอบเพลย์ออฟ[แก้]

แม่แบบ:รอบตัดเชือกฟุตบอลโลกหญิง 2015 โซนยุโรป เนเธอร์แลนด์ ได้เข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลโลกหญิงเป็นครั้งแรก.

อ้างอิง[แก้]

  1. MacKinnon, John (1 December 2010). "The party's over ... what's next?". Edmonton Journal. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-05-14. สืบค้นเมื่อ 1 December 2010.
  2. "Qualification slots for Canada 2015 confirmed". FIFA.com. 11 June 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-30. สืบค้นเมื่อ 2014-11-28.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

แม่แบบ:รอบคัดเลือกฟุตบอลโลกหญิง 2015