ความเฟื่องฟูของมวยปล้ำอาชีพในคริสต์ทศวรรษ 1980

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ความเฟื่องฟูของมวยปล้ำอาชีพในคริสต์ทศวรรษ 1980 (เรียกอีกอย่างว่า ยุคทอง) เป็นยุคที่ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ของวงการมวยปล้ำอาชีพในสหรัฐอเมริกา และที่อื่น ๆ ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 โดยการขยายตัวผ่านทางโทรทัศน์ผ่านสายเคเบิลและทางระบบจ่ายเมื่อรับชม (pay-per-view) ควบคู่ไปด้วยความพยายามของนักโปรโมดเตอร์ เช่น วินซ์ แม็กแมน ที่เห็นการเปลี่ยนแปลงในวงการมวยปล้ำอาชีพจากระบบควบคุมโดยบริษัทในภูมิภาคจำนวนมาก เพื่อครอบงำทั่วประเทศ โดย 2 บริษัท ได้แก่ สมาคมของวินซ์ แม็กแมน เวิลด์เรสต์ลิงเฟดเดอเรชั่น (WWF, ปัจจุบันคือ WWE) และสมาคมของเท็ด เทอร์เนอร์ เวิลด์แชมเปี้ยนชิพเรสต์ลิง (WCW) นับตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1980 ถึงต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 เป็นช่วงที่ WWF อยู่ในอันดับต้น ๆ ส่วน WCW ยังคงเป็นสมาชิกในเครือ เนชันนัลเรสต์ลิงอัลไลแอนซ์ ในทศวรรษต่อมา ได้มีลดอำนาจลงของ NWA

ประวัติ[แก้]

ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 มีการแข่งขันกันขององค์กร 3 แห่งในวงการมวยปล้ำอาชีพในสหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย เวิลด์ไวด์เรสต์ลิงเฟดเดอเรชั่น (WWWF) ในทางตอนเหนือของอเมริกา อเมริกันเรสต์ลิงอัสโซเชียชั่น (AWA) ในทางตอนกลางของอเมริกา และเนชันนัลเรสต์ลิงอัลไลแอนซ์ (NWA) ซึ่งดำเนินกิจการภายในเขตที่ตั้งของตนเองของประเทศ

เนชันนัลเรสต์ลิงอัลไลอันซ์[แก้]

อเมริกันเรสต์ลิงอัสโซซีเอชัน[แก้]

เวิลด์คลาสส์แชมเปี้ยนชิพเรสต์ลิง[แก้]

การขยายตัวของเวิลด์เรสต์ลิงเฟดเดอเรชัน[แก้]

ร็อกแอนด์เรสต์ลิงคอนเนกชัน[แก้]

การสร้าง WrestleMania[แก้]

NWA แข่งขันกับ WWF[แก้]

จิม คร็อกเกตต์ ยังได้เห็นถึงการส่งเสริมการขายสมาคมทั่วประเทศซึ่งทำให้สมาชิก NWA อื่น ๆ ได้รับความสนใจในเอนทิตีแบบเดียวในนามของจิมคร็อกเก็ตโปรโมชันส์ (JCP) ในปี ค.ศ. 1986 ได้เปลี่ยนชื่อจาก JCP มาเป็น NWA World Championship Wrestling

Hulk Hogan, André the Giant และ Randy Savage[แก้]

จุดสิ้นสุดของยุค[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  • Lillian Ellison (2003). The Fabulous Moolah: First Goddess of the Squared Circle. ReaganBooks. ISBN 978-0-06-001258-8.
  • Shields, Brian (2006). Main Event: WWE in the Raging 80s. World Wrestling Entertainment. ISBN 978-1-4165-3257-6.