ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 19 ปี 2019

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 19 ปี 2019
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพไทย
วันที่27 ตุลาคม – 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 2019
ทีม(จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ ญี่ปุ่น (สมัยที่ 6)
รองชนะเลิศ เกาหลีเหนือ
อันดับที่ 3 เกาหลีใต้
อันดับที่ 4 ออสเตรเลีย
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน16
จำนวนประตู64 (4 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม2,282 (143 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดเกาหลีใต้ คัง จี-วู (7 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมญี่ปุ่น Oto Kanno
รางวัลแฟร์เพลย์ ญี่ปุ่น
2017
2022

การแข่งขัน ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 19 ปี 2019 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 10 ของ ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 19 ปี, เป็นการแข่งขันชิงแชมป์ฟุตบอลยุวชนซึ่งจัดตั้งโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) สำหรับทีมหญิงรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปีของชาติในทวีปเอเชีย. ทัวร์นาเมนต์จะจัดขึ้นใน ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 27 ตุลาคม และ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 2019,[1] โดยมีแปดทีมทั้งหมดเข้าร่วมการแข่งขัน.

สามทีมที่ดีที่สุดของทัวร์นาเมนต์จะได้ผ่านเข้าไปเล่นสำหรับ ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี 2020 ในฐานะตัวแทนของเอเอฟซี.[2]

รอบคัดเลือก[แก้]

ทีมที่เข้ารอบ[แก้]

แปดทีมด้านล่างนี้ได้เข้าร่วมในการแข่งขันครั้งนี้

ทีม ในฐานะ ครั้งที่ผ่านเข้ารอบ ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
 ไทย เจ้าภาพ 7 อันดับสี่ (2004)
 ญี่ปุ่น 2017 ชนะเลิศ 10 ชนะเลิศ (2002, 2009, 2011, 2015, 2017)
 เกาหลีเหนือ 2017 รองชนะเลิศ 10 ชนะเลิศ (2007)
 จีน 2017 อันดับสาม 10 ชนะเลิศ (2006)
 ออสเตรเลีย รอบที่สอง กลุ่ม เอ ชนะเลิศ 8 อันดับสาม (2006)
 พม่า รอบที่สอง กลุ่ม เอ รองชนะเลิศ 4 รอบแบ่งกลุ่ม (2002, 2007, 2013)
 เกาหลีใต้ รอบที่สอง กลุ่ม บี ชนะเลิศ 10 ชนะเลิศ (2004, 2013)
 เวียดนาม รอบที่สอง กลุ่ม บี รองชนะเลิศ 5 รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2004)

สนามแข่งขัน[แก้]

การแข่งขันจะลงเล่นที่สองสนามแข่งขัน, ทั้งสองนัดที่ อำเภอเมืองชลบุรี ใน จังหวัดชลบุรี.

การจับสลาก[แก้]

การจับสลากจะจัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 2019, 16:30 ICT (UTC+7), ที่โรงแรมโอกวู้ดใน ชลบุรี, ประเทศไทย.[3][4] แปดทีมถูกจับสลากอยู่ในสองกลุ่มที่มีสี่ทีม. แต่ละทีมคือทีมที่เป็นทีมวางตามประสิทธิภาพของพวกเขาใน ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 19 ปี 2017 รอบสุดท้าย และ รอบคัดเลือก, กับชาติเจ้าภาพ ประเทศไทยที่ได้สิทธิ์อัตโนมัติและถูกกำหนดให้อยู่ในตำแหน่ง A1 ในการจับสลาก.[5]

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

ผู้เล่น[แก้]

ผู้เล่นที่เกิดระหว่างวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2000 และ 31 ธันวาคม ค.ศ. 2004 จะได้มีสิทธิ์ที่จะเข้าร่วมในการแข่งขัน. แต่ละทีมสามารถลงทะเบียนได้สูงสุดแค่ 23 คน (ขั้นต่ำสุดสามคนจะต้องเป็นผู้รักษาประตู).[6]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ.

เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, ICT (UTC+7).

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เกาหลีเหนือ 3 3 0 0 11 2 +9 9 รอบแพ้คัดออก
2  ออสเตรเลีย 3 2 0 1 5 6 −1 6
3  เวียดนาม 3 1 0 2 2 4 −2 3
4  ไทย (H) 3 0 0 3 2 8 −6 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.
เกาหลีเหนือ 5–1 ออสเตรเลีย
Kim Hyang Goal 19'
Yun Ji-hwa Goal 30'
Ri Kum-hyang Goal 74'
Pak Il-gyong Goal 83'
Kim Yun-ok Goal 88'
รายงาน Cooney-Cross Goal 16'
ผู้ชม: 170 คน
ผู้ตัดสิน: Edita Mirabidova (อุซเบกิสถาน)
ไทย 0–2 เวียดนาม
รายงาน Nguyễn Thị Tuyết Ngân Goal 58' (ลูกโทษ)
Ngân Thị Vạn Sự Goal 90+2'
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: Oh Hyeon-jeong (เกาหลีใต้)

เวียดนาม 0–3 เกาหลีเหนือ
รายงาน Yun Ji-hwa Goal 47'
Kim Kyong-yong Goal 61'
Ryu Sol-song Goal 70'
ผู้ชม: 50 คน
ผู้ตัดสิน: Fusako Kajiyama (ญี่ปุ่น)
ออสเตรเลีย 3–1 ไทย
M. Fowler Goal 17'41'
Nevin Goal 56'
รายงาน ภัทรนันท์ Goal 63'
ผู้ชม: 280 คน
ผู้ตัดสิน: Mahsa Ghorbani (อิหร่าน)

ไทย 1–3 เกาหลีเหนือ
ณัฐวดี Goal 59' รายงาน Kim Kyong-yong Goal 5'
Ri Chong-gyong Goal 27'
Ri Su-gyong Goal 47'
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: Mahsa Ghorbani (อิหร่าน)
ออสเตรเลีย 1–0 เวียดนาม
M. Fowler Goal 84' รายงาน
ผู้ชม: 90 คน
ผู้ตัดสิน: Oh Hyeon-jeong (เกาหลีใต้)

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ญี่ปุ่น 3 3 0 0 9 1 +8 9 รอบแพ้คัดออก
2  เกาหลีใต้ 3 2 0 1 3 3 0 6
3  จีน 3 1 0 2 7 5 +2 3
4  พม่า 3 0 0 3 1 11 −10 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
ญี่ปุ่น 5–0 พม่า
Yamamoto Goal 36'49'
Ōsawa Goal 39'
Hirosawa Goal 66'
Itō Goal 67'
รายงาน
ผู้ชม: 120 คน
ผู้ตัดสิน: พรรษา ชัยสนิท (ไทย)
จีน 1–2 เกาหลีใต้
Han Xuan Goal 34' รายงาน Kang Ji-woo Goal 1'72'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Abirami Naidu (สิงคโปร์)

พม่า 1–5 จีน
San Thaw Thaw Goal 73' รายงาน Yao Mengjia Goal 5'
Yang Qian Goal 52'62'
Wang Linlin Goal 70' (ลูกโทษ)
Han Xuan Goal 90+1'
ผู้ชม: 80 คน
ผู้ตัดสิน: Pak Un-jong (เกาหลีเหนือ)
เกาหลีใต้ 0–2 ญี่ปุ่น
รายงาน Kanno Goal 16'
Yamamoto Goal 84'
ผู้ชม: 150 คน
ผู้ตัดสิน: Ranjita Devi Tekcham (อินเดีย)

ญี่ปุ่น 2–1 จีน
Kato Goal 10'
Morita Goal 70'
รายงาน Sun Pingwei Goal 72'
ผู้ชม: 200
ผู้ตัดสิน: Edita Mirabidova (อุซเบกิสถาน)
เกาหลีใต้ 1–0 พม่า
Lee Jeong-min Goal 79' รายงาน
ผู้ชม: 72 คน
ผู้ตัดสิน: Abirami Naidu (สิงคโปร์)

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
6 พฤศจิกายน – ชลบุรีสเตเดียม
 
 
 เกาหลีเหนือ3
 
9 พฤศจิกายน – ชลบุรีสเตเดียม
 
 เกาหลีใต้1
 
 เกาหลีเหนือ1
 
6 พฤศจิกายน – ชลบุรีสเตเดียม
 
 ญี่ปุ่น2
 
 ญี่ปุ่น7
 
 
 ออสเตรเลีย0
 
นัดชิงอันดับที่ 3
 
 
9 พฤศจิกายน – ชลบุรีสเตเดียม
 
 
 เกาหลีใต้9
 
 
 ออสเตรเลีย1

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

ทีมชนะเลิศจะได้สิทธิ์เข้าแข่งขันสำหรับ ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี 2020.

เกาหลีเหนือ 3–1 เกาหลีใต้
Kim Kyong-yong Goal 3'9'
Pak Il-gyong Goal 53'
รายงาน Kang Ji-woo Goal 59' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Abirami Naidu (สิงคโปร์)

ญี่ปุ่น 7–0 ออสเตรเลีย
Kanno Goal 21' (ลูกโทษ)
Ōsawa Goal 23'48'
Yamamoto Goal 50'
Itō Goal 52'
Hirosawa Goal 80'86'
รายงาน
ผู้ชม: 120 คน
ผู้ตัดสิน: Ranjita Devi Tekcham (อินเดีย)

นัดชิงอันดับที่ 3[แก้]

ทีมที่ชนะเลิศจะได้สิทธิ์เข้าแข่งขันสำหรับ ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี 2020.

เกาหลีใต้ 9–1 ออสเตรเลีย
Noh Jin-young Goal 14'
Choo Hyo-joo Goal 24'88'
Kang Ji-woo Goal 36'75'84' (ลูกโทษ)90'
Hyun Seul-gi Goal 39'
Cho Mi-jin Goal 90+2'
รายงาน Fowler Goal 81'
ผู้ชม: 150 คน
ผู้ตัดสิน: พรรษา ชัยสนิท (ไทย)

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

เกาหลีเหนือ 1–2 ญี่ปุ่น
Kim Yun-ok Goal 82' (ลูกโทษ) รายงาน Yamamoto Goal 47'
Takahashi Goal 72'
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: Edita Mirabidova (อุซเบกิสถาน)

ทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี[แก้]

สามทีมจากเอเอฟซีด้านล่างนี้มาจากการคัดเลือกผ่านเข้าสู่ ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี 2020.

ทีม วันที่เข้ารอบ จำนวนครั้งล่าสุดที่ผ่านมา ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี1
 เกาหลีเหนือ 6 พฤศจิกายน 2019[7] 7 (2006, 2008, 2010, 2012, 2014, 2016, 2018)
 ญี่ปุ่น 6 พฤศจิกายน 2019[7] 6 (2002, 2008, 2010, 2012, 2016, 2018)
 เกาหลีใต้ 9 พฤศจิกายน 2019[7] 5 (2004, 2010, 2012, 2014, 2016)
1 ตัวหนา หมายถึงแชมเปียนส์สำหรับปีนั้น. ตัวเอียง หมายถึงเจ้าภาพสำหรับปีนั้น.

อันดับผู้ทำประตู[แก้]

7 ประตู
5 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู

อ้างอิง[แก้]

  1. "AFC Women's Football Committee recommends women's club competition". AFC. 20 April 2018.
  2. "Thailand 2019 semi-finals line-up confirmed". AFC. 3 November 2019.
  3. "Stage set for all-important draw". AFC. 22 May 2019.
  4. "Heavyweights to clash as path to glory is revealed". AFC. 23 May 2019.
  5. "AFC U-19 Women's Championship Thailand 2019 Draw". YouTube. 23 May 2019.
  6. "AFC U-19 Women's Championship 2019 Competition Regulations". AFC.
  7. 7.0 7.1 7.2 "Korea DPR, Japan & Korea Republic advance to global finals". FIFA. 6 November 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]