ข้ามไปเนื้อหา

ฟันดาบ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟันดาบ
การแข่งขันฟันดาบเวิลด์คัพ 2012 รอบชิงชนะเลิศ ที่ปารีส
สมาพันธ์สูงสุดสหพันธ์ฟันดาบนานาชาติ
เล่นครั้งแรกระหว่างศตวรรษที่ 17 และ 19 ยุโรป
ลักษณะเฉพาะ
การปะทะกึ่งสัมผัส
ผู้เล่นในทีมเดี่ยวหรือผลัดทีม
แข่งรวมชายหญิงผสม และแยก
หมวดหมู่ในร่ม
อุปกรณ์เอเป้, ฟอยล์, เซเบอร์, สายไฟฟ้าประจำตัว, เสื้อไฟฟ้า, ด้ามจับ
สถานที่สนามประลอง (ปริ้สท์)[1]
จัดแข่งขัน
ประเทศ ภูมิภาคทั่วโลก
โอลิมปิกตั้งแต่โอลิมปิกฤดูร้อน 1896
พาราลิมปิกวีลแชร์ฟันดาบ ตั้งแต่พาราลิมปิกฤดูร้อน 1960
ฟันดาบ
ยังเป็นที่รู้จักในชื่อฟันดาบเอเป้, ฟันดาบฟอยล์, ฟันดาบเซเบอร์
มุ่งเน้นอาวุธ
Hardnessกึ่งสัมผัส
เว็บไซต์ทางการfie.org

ฟันดาบ เป็นกีฬาต่อสู้ที่มีการต่อสู้ด้วยดาบ[2] การแข่งขันฟันดาบสมัยใหม่มีด้วยกัน 3 ประเภท ได้แก่ ฟอยล์ เอเป้ และเซเบอร์ ใช้วัสดุของดาบแบ่งประเภทตามชื่อ แต่ละประเภทมีกติกาต่างกันออกไป นักกีฬาฟันดาบส่วนใหญ่มีความถนัดในประเภทเดียว กีฬาฟันดาบสมัยใหม่มีความนิยมมากขึ้นในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 โดยมีพื้นฐานมาจากศิลปะการฟันดาบแบบดั้งเดิม สำนักฟันดาบอิตาลีนำเอาการฟันดาบแบบดังเดิมซึ่งเป็นศิลปะการต่อสู้ในอดีตของยุโรปนำมาปรับปรุง และต่อมาสำนักฟันดาบฝรั่งเศสก็ได้ปรับปรุงให้มีระบบที่ดียิ่งขึ้น การทำคะแนนในการแข่งขันฟันดาบทำได้โดยการสัมผัสกับคู่ต่อสู้

การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1904 มีการเพิ่มประเภทที่ 4 ของฟันดาบที่เรียกว่าซิงเกิลสติก แต่ถูกยกเลิกหลังจากการแข่งขันครั้งนั้นและไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของฟันดาบสมัยใหม่ ฟันดาบแข่งขันเป็นหนึ่งในกีฬาแรก ๆ ที่เสนอในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ควบคู่ไปกับกรีฑา จักรยาน ว่ายน้ำ และยิมนาสติก ถูกบรรจุในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่ทุกครั้ง

การแข่งขันฟันดาบ

[แก้]

หน่วยงานกำกับดูแล

[แก้]

การฟันดาบอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของสหพันธ์ฟันดาบนานาชาติ (ฝรั่งเศส: Fédération Internationale d'Escrime; FIE) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่โลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีสมาชิกจาก 155 สมาคมระดับชาติ ซึ่งแต่ละแห่งได้รับรับรองจากรัฐบาล คณะกรรมการโอลิมปิก ให้เป็นตัวแทนหนึ่งเดียวของกีฬาฟันดาบประเภทโอลิมปิกในประเทศนั้น ๆ[3]

กฎ

[แก้]

สหพันธ์ยังคงใช้กฎปัจจุบันที่ใช้ในการแข่งขันระดับนานาชาติหลัก ประกอบด้วยการแข่งขันฟันดาบเวิลด์คัพ ฟันดาบชิงแชมป์โลก และกีฬาฟันดาบในกีฬาโอลิมปิก[4] สหพันธ์สามารถให้มีการเสนอเพื่อเปลี่ยนแปลงกฎได้ในการประชุมประจำปี[5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "มาตรฐานสนามแข่งขันและอุปกรณ์กีฬา ฟันดาบ" (PDF). 2009.
  2. "Fencing | History, Organizations, & Equipment | Britannica". www.britannica.com (ภาษาอังกฤษ). 2024-01-19. สืบค้นเมื่อ 2024-02-02.
  3. "About FIE". FIE: International Fencing Federation. สืบค้นเมื่อ 4 August 2023.
  4. "About FIE". fie.org.
  5. "2022 FIE Congress Decisions and Rule Changes". fencing.net. 17 December 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 June 2023. สืบค้นเมื่อ 1 August 2023. The FIE Congress met on November 25 in Lausanne, Switzerland for their annual decisions regarding proposed rule changes as well as the additional decisions by the Executive Committee.

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Amberger, Johann Christoph (1999). The Secret History of the Sword. Burbank: Multi-Media. ISBN 1-892515-04-0
  • Barbasetti, Luigi (1936). The Art of the Sabre and the Epee. 1936. reprint 2019. ISBN 9783964010056
  • British Fencing (September 2008). "FIE Competition Rules (English)". Official document. Retrieved 2008-12-16.
  • Evangelista, Nick (1996). The Art and Science of Fencing. Indianapolis: Masters Press. ISBN 1-57028-075-4.
  • Evangelista, Nick (2000). The Inner Game of Fencing: Excellence in Form, Technique, Strategy, and Spirit. Chicago: Masters Press. ISBN 1-57028-230-7.
  • Gaugler, William M. (2004). "The Science of Fencing: A Comprehensive Training Manual for Master and Student: Including Lesson Plans for Foil, Sabre and Epee Instruction". Laureate Press. ISBN 1884528309.
  • United States Fencing Association (September 2010). United States Fencing Association Rules for Competition. Retrieved 2011-10-03.
  • Vass, Imre (2011). "Epee Fencing: A Complete System". SKA SwordPlay Books. ISBN 0978902270.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]