ฟอสโฟลิพิด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Two schematic representations of a phospholipid.

ฟอสโฟลิพิด (อังกฤษ:Phospholipids) เป็นโมเลกุลที่เกิดจาก 4 ส่วนประกอบ คือ

  1. กรดไขมัน,
  2. ประจุลบของฟอสเฟตกรุ๊ป,
  3. แอลกอฮอล์ และ
  4. ส่วนที่เป็นแกนกลาง (backbone)

ฟอสโฟลิพิดที่มีกลีเซอรอลเป็นแกนกลางเรียกว่า กลีเซอโรฟอสโฟลิพิด (glycerophospholipid) หรือ ฟอสโฟกลีเซอไรด์ มีแบบเดียวของฟอสโฟลิพิดเท่านั้นที่มีแกนกลางเป็น สฟิงโกซีน (sphingosine) คือ สฟิงโกไมอีลิน (sphingomyelin) ฟอสโฟลิพิดเป็นส่วนประกอบหลักของเซลล์ เมมเบรนซึ่งก็คือไกลโคลิพิด (glycolipid) และ คอเลสเตอรอล

ฟอสโฟกลีเซอไรด์ (Phosphoglycerides)[แก้]

ใน ฟอสโฟกลีเซอไรด์ คาร์บอกซิล กรุ๊ปของแต่ละกรดไขมัน จะถูกเอสเตอริไฟด์ เป็น ไฮดรอกซิล กรุ๊ป ที่ คาร์บอน-1 และ คาร์บอน-2 ฟอสเฟต กรุ๊ป จะเชื่อมติดกับ คาร์บอน-3 โดย เอสเตอร์ ลิงก์ (ester link) โมเลกุลนี้มีชื่อว่า ฟอสฟาติเดต (phosphatidate) ซึ่งมีอยู่ในปริมาณเล็กน้อยในเมมเบรน และมันก็เป็น สารตั้งต้น สำหรับ ฟอสโฟกลีเซอไรด์ อื่นๆ

ฟอสฟาติดิล คอลีน (Phosphatidyl choline)[แก้]


ฟอสฟาติดิล คอลีน เป็นส่วนประกอบหลักของ หัวไช้เท้า

ฟอสฟาติดิล เอตทาโนลามีน (Phosphatidyl ethanolamine)[แก้]


ฟอสฟาติดิล เอตทาโนลามีน เป็นส่วนประกอบหลักของ เซฟาลิน (cephalin)

ฟอสฟาติดิล อินโนซิทอล (Phosphatidyl inositol)[แก้]

ฟอสฟาติดิล เซอรีน (Phosphatidyl serine)[แก้]

ไดฟอสฟาติดิล กลีเซอรอล (Diphosphatidyl glycerol)[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Berg, J.M., J.L. Tymoczko, and L. Stryer, Biochemistry. 5th ed. 2002, New York: W.H. Freeman. xxxviii, 974, [976] (various pagings)