ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุกรมฟูรีเย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8483025 สร้างโดย 182.52.204.11 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Prame tan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''อนุกรมฟูรีเย''' ตั้งชื่อตาม[[โฌแซ็ฟ ฟูรีเย]] อนุกรมฟูรีเยเป็นเทคนิคทางคณิตศาสตร์ที่มีประโยชน์ เช่นใช้ในการแยกปัญหาออกเป็นส่วนย่อยๆ ที่ง่ายกว่าปัญหาดั้งเดิม โดยอนุกรมฟูรีเย นั้นเป็นการกระจายฟังก์ชันคาบ ที่มีคาบ 2π ให้อยู่ในรูปผลบวกของ ฟังก์ชันคาบในรูป
'''อนุกรมฟูรีเย''' ({{Lang-en|Fourier series}}) เป็น[[อนุกรม]]ที่แต่ละพจน์เป็นผลคูณระหว่างสัมประสิทธิ์และ[[ฟังก์ชันตรีโกณมิติ]] โดยทั่วไปอนุกรมฟูรีเยสามารถใช้เป็นอนุกรมแทนฟังก์ชันคาบได้


== ประวัติ ==
:<math>x\mapsto e^{inx}</math>
''ดูประวัติที่บทความหลัก [[การแปลงฟูรีเย]]''


อนุกรมฟูรีเยตั้งชื่อตาม[[โฌแซ็ฟ ฟูรีเย]] ผู้ริเริ่มใช้อนุกรมฟูรีเยเพื่อใช้แก้[[สมการความร้อน]]บนแผ่นโลหะ<ref>{{Cite book|last=Simmons|first=George F.|url=https://www.worldcat.org/oclc/961248509|title=Differential equations with applications and historical notes|date=2017|publisher=Taylor & Francis Inc|isbn=978-1-4987-0259-1|edition=3rd|location=Boca Raton|pages=299-300|oclc=961248509}}</ref>
ซึ่งเป็น ฮาร์โมนิก ของ ''e''<sup>''i x''</sup> หรือ อาจเขียนในรูปของฟังก์ชัน ไซน์ และ โคไซน์

''ดูประวัติที่บทความหลัก [[การแปลงฟูรีเย]]''


== นิยาม ==
== นิยาม ==
บรรทัด 55: บรรทัด 54:





== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

* {{Cite book|last=Stein|first=Elias M.|url=https://www.worldcat.org/oclc/51569246|title=Fourier analysis : an introduction|last2=Shakarchi|first2=Rami|date=2003|publisher=Princeton University Press|year=2003|isbn=0-691-11384-X|location=Princeton|oclc=51569246}}
{{โครงคณิตศาสตร์}}
{{โครงคณิตศาสตร์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:57, 30 ธันวาคม 2564

อนุกรมฟูรีเย (อังกฤษ: Fourier series) เป็นอนุกรมที่แต่ละพจน์เป็นผลคูณระหว่างสัมประสิทธิ์และฟังก์ชันตรีโกณมิติ โดยทั่วไปอนุกรมฟูรีเยสามารถใช้เป็นอนุกรมแทนฟังก์ชันคาบได้

ประวัติ

ดูประวัติที่บทความหลัก การแปลงฟูรีเย

อนุกรมฟูรีเยตั้งชื่อตามโฌแซ็ฟ ฟูรีเย ผู้ริเริ่มใช้อนุกรมฟูรีเยเพื่อใช้แก้สมการความร้อนบนแผ่นโลหะ[1]

นิยาม

พิจารณาฟังก์ชันจำนวนเชิงซ้อน f(x) ของตัวแปรซึ่งมีค่าเป็นจำนวนจริง ที่มีคาบ 2π และ สามารถหาค่าปริพันธ์ของกำลังสอง ในช่วง 0 ถึง 2π ได้ การกระจายฟังก์ชันในรูปของอนุกรมฟูรีเยจะหาได้จาก

อนุกรมฟูรีเย สัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูรีเย
จาก สูตรของออยเลอร์ (Euler's formula) เราสามารถเขียน f(x) อยู่ในรูปอนุกรมอนันต์ของ และ

โดยที่ , และ

ตัวอย่าง

พิจารณาฟังก์ชัน สำหรับค่า และเป็นคาบในช่วงที่เหลือ ตามข้อสมมุติของอนุกรมฟูรีเย ดังรูป

สัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูรีเยสามารถคำนวณหาได้ดังต่อไปนี้ สังเกตว่า cos(nx) เป็นฟังก์ชันคู่ ในขณะที่ f เป็นฟังก์ชันคี่เช่นเดียวกับ sin(nx)

สังเกตว่า a0 และ an มีค่าเท่ากับ 0 เนื่องจาก x และ x cos(nx) เป็นฟังก์ชันคี่ ดังนั้นอนุกรมฟูรีเยของ f(x) = x คือ:

สำหรับการประยุกต์ใช้งานอนุกรมฟูรีเย ดู ค่าของฟังก์ชันซีตาของรีมันน์ ที่ s = 2

ภาพเคลื่อนไหวแสดงกราฟต่อเนื่องห้าอันดับจากอนุกรมฟูรีเยที่เป็นคำตอบ


อ้างอิง

  1. Simmons, George F. (2017). Differential equations with applications and historical notes (3rd ed.). Boca Raton: Taylor & Francis Inc. pp. 299–300. ISBN 978-1-4987-0259-1. OCLC 961248509.