ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชวังหลวงเฮอัง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Heiankyo palace location.png|thumb|แผนผังของพระราชวังหลวงเฮอัง]]
[[ไฟล์:Heiankyo palace location.png|thumb|แผนผังของพระราชวังหลวงเฮอัง]]


[[ไฟล์:Heian Jingu Daigokuden.jpg|right|thumb|พระที่นั่งไดโงะกุที่ได้รับการปรับปรุงแล้ว]]
[[ไฟล์:Heian Jingu Daigokuden.jpg|right|thumb|พระที่นั่งไดโงกุที่ได้รับการปรับปรุงแล้ว]]


'''พระราชวังหลวงเฮอัง''' (平安宮) เป็นพระราชวังเดิมของ [[เฮอังเกียว]] ([[เกียวโต]] ในทุกวันนี้) ราชธานีของญี่ปุ่นจากปี พ.ศ. 1337 ถึงปี พ.ศ. 1770 พระราชวัง ถูกใช้เป็นที่ประทับของจักรพรรดิและเป็นศูนย์กลางการบริหารของ [[ยุคเฮอัง]] (จากปี พ.ศ. 1337 ถึงปี พ.ศ. 1728) โดยตั้งอยู่กลางค่อนเหนือของเมืองตามแบบจีนที่ใช้ออกแบบเมืองหลวง
'''พระราชวังหลวงเฮอัง''' (平安宮) เป็นพระราชวังเดิมของ [[เฮอังเกียว]] ([[เกียวโต]] ในทุกวันนี้) ราชธานีของญี่ปุ่นจากปี พ.ศ. 1337 ถึงปี พ.ศ. 1770 พระราชวัง ถูกใช้เป็นที่ประทับของจักรพรรดิและเป็นศูนย์กลางการบริหารของ [[ยุคเฮอัง]] (จากปี พ.ศ. 1337 ถึงปี พ.ศ. 1728) โดยตั้งอยู่กลางค่อนเหนือของเมืองตามแบบจีนที่ใช้ออกแบบเมืองหลวง
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
พระราชวังประกอบด้วยกำแพงสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ซึ่งมีอาคารประกอบพิธีและธุรการหลายแห่ง รวมทั้งกรมต่างๆ ของราชสำนัก ภายในพระราชวังนี้เป็นที่ประทับที่มีกำแพงแยกกันของ [[รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น|จักรพรรดิ]] กับ พระราชฐานชั้นใน นอกจากเป็นที่ประทับของจักรพรรดิแล้ว พระราชฐานชั้นในยังเป็นที่ประทับของพระราชวงศ์และบาทบริจาริกา ตลอดจนขุนนางบางคน
พระราชวังประกอบด้วยกำแพงสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ซึ่งมีอาคารประกอบพิธีและธุรการหลายแห่ง รวมทั้งกรมต่างๆ ของราชสำนัก ภายในพระราชวังนี้เป็นที่ประทับที่มีกำแพงแยกกันของ [[รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น|จักรพรรดิ]] กับ พระราชฐานชั้นใน นอกจากเป็นที่ประทับของจักรพรรดิแล้ว พระราชฐานชั้นในยังเป็นที่ประทับของพระราชวงศ์และบาทบริจาริกา ตลอดจนขุนนางบางคน


รูปแบบดั้งเดิมของพระราชวังคือการแสดงให้เห็นรูปแบบการปกครองแบบรวมศูนย์ที่รับมาจากจีนแล้วญี่ปุ่นนำมาดัดแปลงใน [[คริสต์ศตวรรษที่ 7]] พระราชวังได้รับการออกแบบเพื่อให้มีการใช้งานที่เหมาะสมสำหรับการเป็นที่ประทับขององค์จักรพรรดิ การบริหารราชการแผ่นดิน และประกอบพระราชพิธี
รูปแบบดั้งเดิมของพระราชวังคือการแสดงให้เห็นรูปแบบการปกครองแบบรวมศูนย์ที่รับมาจากจีนแล้วญี่ปุ่นนำมาดัดแปลงใน [[คริสต์ศตวรรษที่ 7]] พระราชวังได้รับการออกแบบเพื่อให้มีการใช้งานที่เหมาะสมสำหรับการเป็นที่ประทับขององค์จักรพรรดิ การบริหารราชการแผ่นดิน และประกอบพระราชพิธี ในขณะที่การดำรงอยู่ของพระราชวังดำเนินมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:55, 15 ธันวาคม 2564

แผนผังของพระราชวังหลวงเฮอัง
พระที่นั่งไดโงกุที่ได้รับการปรับปรุงแล้ว

พระราชวังหลวงเฮอัง (平安宮) เป็นพระราชวังเดิมของ เฮอังเกียว (เกียวโต ในทุกวันนี้) ราชธานีของญี่ปุ่นจากปี พ.ศ. 1337 ถึงปี พ.ศ. 1770 พระราชวัง ถูกใช้เป็นที่ประทับของจักรพรรดิและเป็นศูนย์กลางการบริหารของ ยุคเฮอัง (จากปี พ.ศ. 1337 ถึงปี พ.ศ. 1728) โดยตั้งอยู่กลางค่อนเหนือของเมืองตามแบบจีนที่ใช้ออกแบบเมืองหลวง

พระราชวังประกอบด้วยกำแพงสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ซึ่งมีอาคารประกอบพิธีและธุรการหลายแห่ง รวมทั้งกรมต่างๆ ของราชสำนัก ภายในพระราชวังนี้เป็นที่ประทับที่มีกำแพงแยกกันของ จักรพรรดิ กับ พระราชฐานชั้นใน นอกจากเป็นที่ประทับของจักรพรรดิแล้ว พระราชฐานชั้นในยังเป็นที่ประทับของพระราชวงศ์และบาทบริจาริกา ตลอดจนขุนนางบางคน

รูปแบบดั้งเดิมของพระราชวังคือการแสดงให้เห็นรูปแบบการปกครองแบบรวมศูนย์ที่รับมาจากจีนแล้วญี่ปุ่นนำมาดัดแปลงใน คริสต์ศตวรรษที่ 7 พระราชวังได้รับการออกแบบเพื่อให้มีการใช้งานที่เหมาะสมสำหรับการเป็นที่ประทับขององค์จักรพรรดิ การบริหารราชการแผ่นดิน และประกอบพระราชพิธี ในขณะที่การดำรงอยู่ของพระราชวังดำเนินมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12

อ้างอิง