ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล''' (14 มกราคม พ.ศ. 2452 <ref>{{user:2T/ref/พระอนุว...
 
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล เป็นพระโอรสใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ประสูติแต่หม่อมแสง <ref>{{user:2T/ref/ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช}}</ref>
หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล เป็นพระโอรสใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ประสูติแต่หม่อมแสง <ref>{{user:2T/ref/ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช}}</ref>


หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุลอยู่ในวงการภาพยนตร์ไทยตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นผู้กำกับภาพ ภาพยนตร์ ''[[พระเจ้าช้างเผือก]]'' เป็นผู้กำกับ ''[[สุภาพบุรุษเสือไทย]]'' ซึ่งอำนวยการสร้างโดย[[แท้ ประกาศวุฒิสาร]] และประสบความสำเร็จสูงสุดในปี พ.ศ. 2492 ท่านได้รับการเชิดชูเกียรติในฐานะเป็นผู้นำการสร้างภาพยนตร์ 16 ม.ม.ในพิธีประกาศผล[[รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2500]] <ref>{{user:2T/ref/พิพิธภัณฑ์หนังไทย2}}</ref>
หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุลอยู่ในวงการภาพยนตร์ไทยตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นผู้กำกับภาพ ภาพยนตร์ ''รวมไทย'' ภาพยนตร์ปลุกระดมการเรียกร้องดินแดนคืนจาก[[ฝรั่งเศส]] ของกรมสาธารณสุขและกรมรถไฟ <ref name="หนังไทย"/> เป็นผู้กำกับ ''[[สุภาพบุรุษเสือไทย]]'' ซึ่งอำนวยการสร้างโดย[[แท้ ประกาศวุฒิสาร]] และประสบความสำเร็จสูงสุดในปี พ.ศ. 2492 ท่านได้รับการเชิดชูเกียรติในฐานะเป็นผู้นำการสร้างภาพยนตร์ 16 ม.ม.ในพิธีประกาศผล[[รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2500]] <ref name="หนังไทย">{{user:2T/ref/พิพิธภัณฑ์หนังไทย2}}</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:54, 4 มกราคม 2551

หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล (14 มกราคม พ.ศ. 2452 [1] - 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519) [2] ช่างภาพ ผู้กำกับ และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ไทย

หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติแต่หม่อมแสง [3]

หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุลอยู่ในวงการภาพยนตร์ไทยตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นผู้กำกับภาพ ภาพยนตร์ รวมไทย ภาพยนตร์ปลุกระดมการเรียกร้องดินแดนคืนจากฝรั่งเศส ของกรมสาธารณสุขและกรมรถไฟ [4] เป็นผู้กำกับ สุภาพบุรุษเสือไทย ซึ่งอำนวยการสร้างโดยแท้ ประกาศวุฒิสาร และประสบความสำเร็จสูงสุดในปี พ.ศ. 2492 ท่านได้รับการเชิดชูเกียรติในฐานะเป็นผู้นำการสร้างภาพยนตร์ 16 ม.ม.ในพิธีประกาศผลรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2500 [4]

อ้างอิง

  1. ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร. พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549. 360 หน้า. ISBN 974-221-818-8
  2. แท้ ประกาศวุฒิสารสุภาพบุรุษเสือแท้. กรุงเทพ : มูลนิธิหนังไทย, พ.ศ. 2544. 368 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-88613-8-4
  3. ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ. ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2544. 490 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-222-648-2
  4. 4.0 4.1 หนึ่งเดียว. พิพิธภัณฑ์หนังไทย ฉบับ "ประวัติการณ์ที่สุดหนังไทย". กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ป็อปคอร์น, พ.ศ. 2549. หน้า 328. ISBN 974-94228-8-0