ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบประสาทสั่งการ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แปลจากวิกิอังกฤษ+บทความเดิม
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Refimprove | date = October 2009}}
'''ระบบประสาทสั่งการ''' หรือ ระบบมอเตอร์ (motor system) เป็นระบบประสาทที่ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนไหวโดยรวมของร่างกาย โดยการกระตุ้นให้[[กล้ามเนื้อลาย]]หดตัว และเกิดการเคลื่อนไหวขึ้น
<!-- บทอื่น ๆ ที่เปลี่ยนทางมายังบทความนี้:
== ชนิดของระบบประสาทสั่งการ ==
ระบบสั่งการ, ระบบประสาทสั่งการ
=== [[ระบบปิรามิด]] ===
motor system, neuromuscular system
ควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายภายใต้อำนาจจิตใจ
extrapyramidal system, ระบบนอกพีระมิด, ระบบสั่งการนอกพีระมิด, ระบบประสาทสั่งการนอกพิระมิด => #extrapyramidal system
=== [[ระบบนอกปิรามิด]] ===
-->
ควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายนอกอำนาจจิตใจ
'''ระบบสั่งการ'''<ref name=RoyalDict>
* {{Citation | title = motor | quote = (แพทยศาสตร์) ๑. มอเตอร์, -ยนต์ ๒. -สั่งการ | work = ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕ }}
* {{Citation | title = motor neuron | quote = (แพทยศาสตร์) เซลล์ประสาทสั่งการ | work = ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕ }}
</ref>
หรือ '''ระบบมอเตอร์'''
({{lang-en |motor system}})
เป็นคำกว้าง ๆ ที่หมายถึงทั้ง[[ระบบประสาทกลาง]]และโครงสร้างนอกระบบประสาทกลางซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว (motor functions)<ref>
{{cite book | year = 2018 | title = Neuroscience | edition = 6th | editor-last1 = Purves | editor-first1 = Dale | editor-last2 = Augustine | editor-first2 = George J | editor-last3 = Fitzpatrick | editor-first3 = David | editor-last4 = Hall | editor-first4 = William C | editor-last5 = Lamantia | editor-first5 = Anthony Samuel | editor-last6 = Mooney | editor-first6 = Richard D | editor-last7 = Platt | editor-first7 = Michael L | editor-last8 = White | editor-first8 = Leonard E | publisher = Sinauer Associates | isbn = 9781605353807 | at = Glossary, motor system, p. G-18 | quote = '''motor systems''' A broad term used to describe all the central and peripheral structures that support motor behavior. }}</ref><ref name=VandenBos2015>
{{cite book | editor-last1 = VandenBos | editor-first1 = Gary R | year = 2015 | title = motor system | edition = 2nd | work = APA dictionary of psychology | location = Washington, DC | publisher = American Psychological Association | isbn = 978-1-4338-1944-5 | pages = 672 | doi = 10.1037/14646-000 | quote = the complex of skeletal muscles, neural connections with muscle tissues, and structures of the central nervous system associated with motor functions. Also called neuromuscular system. }}</ref>
โดยกระตุ้นให้กล้ามเนื้อหดและคลายตัวก่อการเคลื่อนไหว
โครงสร้างนอกประสาทกลางอาจรวม[[กล้ามเนื้อโครงร่าง]]และ[[เส้นใยประสาทนำเข้า]]ที่ส่งไปยัง[[กล้ามเนื้อ]]
โครงสร้างในระบบประสาทกลางรวมทั้ง[[เปลือกสมอง]], [[ก้านสมอง]], [[ไขสันหลัง]], ระบบประสาทพีระมิด ([[ลำเส้นใยประสาทพีระมิด]]) รวมทั้ง[[เซลล์ประสาทสั่งการบน]] ({{abbr |UMN| upper motor neurons }}), [[extrapyramidal system]], [[สมองน้อย]] และ[[เซลล์ประสาทสั่งการล่าง]] ({{abbr |LMN| lower motor neuron }}) ในก้านสมองและไขสันหลัง<ref>{{cite book | last = Augustine | first = James R. | title = Human Neuroanatomy | chapter = 15 - The Motor System: Part 1 - Lower Motoneurons and the Pyramidal System | year = 2008 | publisher = Academic Press | location = San Diego, CA | isbn = 978-0-12-068251-5 | at = 15.1. REGIONS INVOLVED IN MOTOR ACTIVITY, p. 259}}</ref>

== ลำเส้นใยประสาทพีระมิด ==
ลำเส้นใยประสาทพีระมิด (pyramidal tract, pyramidal motor system) เริ่มจากศูนย์สั่งการใน[[เปลือกสมอง]]<ref>{{cite journal | authors = Rizzolatti, G; Luppino, G | year = 2001 | url = http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0896627301004238 | title = The Cortical Motor System. | journal = Neuron | volume = 31 | pages = 889-901 }} </ref>
ลำเส้นใยประสาทนี้มีทั้งเซลล์ประสาทสั่งการบน (UMN) และล่าง (LMN)
กระแสประสาทเริ่มมาจาก[[เซลล์พิระมิด]]ขนาดใหญ่คือ[[เซลล์เบ็ตซ์]]ภายใน[[เปลือกสมองสั่งการ]] (motor cortex)
ซึ่งก็คือส่วน [[precentral gyrus]] ของ[[เปลือกสมอง]]
เซลล์เหล่านี้จึงเป็นเซลล์ประสาทสั่งการบนของลำเส้นใยประสาทนี้
แอกซอนของเซลล์จะวิ่งผ่านใต้เปลือกสมองไปยัง corona radiata<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua |
ในสาขา[[ประสาทกายวิภาคศาสตร์]] '''corona radiata''' เป็นแผ่น[[เนื้อขาว]]ที่ดำเนินไปทางด้านล่าง (ventral) โดยเรียกว่า internal capsule และดำเนินไปด้านบน (dorsal) โดยเป็น centrum semiovale
แผ่นที่ประกอบด้วย[[แอกซอน]]ทั้งที่ส่งขึ้น (ascending) และส่งลง (descending) นี้ขนส่งกระแสประสาทระหว่างเปลือกสมองกับส่วนอื่น ๆ ในระบบประสาทโดยมาก
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***-->
แล้วไปยัง internal capsule ผ่านสาขาด้านหลัง (posterior) ของ internal capsule ไปยัง[[สมองส่วนกลาง]]และก้านสมองส่วนท้าย (medulla oblongata)

ในส่วนล่างของก้านสมองส่วนท้าย เส้นใยประสาทเหล่านี้ 80-85% จะข้ามไขว้ทแยง (decussate) ไปยังอีกซีกหนึ่งของร่างกาย แล้วลงไปตาม[[เนื้อขาว]]ของ lateral funiculus ในไขสันหลัง
ที่เหลือ 15-20% ลงไปตามเนื้อขาวซีกร่างกายเดียวกัน
แต่ที่ส่งไปยังปลายแขนปลายขา 100% จะข้ามไปยังซีกตรงข้าม
เส้นใยประสาทจะไปยุติที่[[เนื้อเทา]]ในส่วน anterior horn ของไขสันหลังในระดับต่าง ๆ
เป็นส่วนที่มี[[เซลล์ประสาทสั่งการล่าง]] (LMN)
ส่วนเส้นประสาทสั่งการรอบนอกจะส่งกระแสประสาทจาก anterior horn ไปยังกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ

== Extrapyramidal system ==
extrapyramidal motor system ประกอบด้วยระบบที่ปรับและควบคุมกระแสประสาทที่ส่งไปยังกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะ [[basal ganglia]] และ[[สมองน้อย]]
ในสาขา[[กายวิภาคศาสตร์]] extrapyramidal system เป็นเครือข่ายประสาทชีวภาพ เป็นส่วนของระบบสั่งการซึ่งก่อการเคลื่อนไหวที่ไม่ได้อยู่ใต้อำนาจจิตใจ
ระบบเรียกว่า "extrapyramidal" (นอกพิระมิด) เพื่อให้ต่างกับลำเส้นใยประสาทจาก[[เปลือกสมองส่วนสั่งการ]] (motor cortex) ที่ส่งแอกซอนผ่านส่วน "พีระมิด" ของก้านสมองส่วนท้าย (medulla oblongata)
วิถีประสาทพิรามิด (คือ corticospinal tract และ corticobulbar tract บางส่วน) อาจส่งเส้นประสาทไปยังเซลล์ประสาทสั่งการในไขสันหลังและในก้านสมองโดยตรง เทียบกับ extrapyramidal system ที่มีบททบาทในเการปรับและควบคุมเซลล์ประสาทสั่งการโดยอ้อม

extrapyramidal tract โดยหลักพบที่ reticular formation ของ[[พอนส์]]และก้านสมองส่วนท้าย และปรับการทำงานของ[[เซลล์ประสาทสั่งการล่าง]]ในไขสันหลังที่มีบทบาทเกี่ยวกับ[[รีเฟล็กซ์]] การเคลื่อนที่ (locomotion) การเคลื่อนไหวที่ซับซ้อน และการควบคุมท่าทางของร่างกาย (postural control)
ลำเส้นใยประสาทเหล่านี้เองก็ควบคุมโดยส่วนต่าง ๆ ของระบบประสาทกลาง รวมทั้ง nigrostriatal pathway, [[basal ganglia]], [[สมองน้อย]], [[vestibular nuclei]] และเปลือกสมองที่รับความรู้สึกส่วนต่าง ๆ
องค์ประกอบการควบคุมเหล่านี้สามารถจัดเป็นส่วนของระบบประสาทนี้ เพราะปรับการทำงานของกล้ามเนื้อโดยไม่ได้ส่งกระแสประสาทไปยังเซลล์ประสาทสั่งการโดยตรง

extrapyramidal tract รวมลำเส้นใยประสาทต่าง ๆ เหล่านี้ คือ
* rubrospinal tract
* pontine reticulospinal tract
* medullary reticulospinal tract
* lateral vestibulospinal tract
* tectospinal tract

== สมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาทสั่งการ ==
== สมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาทสั่งการ ==
การทำงานของระบบประสาทสั่งการจะต้องอาศัยสมองหลายบริเวณเพื่อควบคุมและประมวลผลให้เกิดการเคลื่อนไหว เช่น somatosensory cortex, supplementary motor area (SMA), premotor cortex, และ basal ganglia เป็นต้น
การทำงานของระบบประสาทสั่งการจะต้องอาศัยสมองหลายบริเวณเพื่อควบคุมและประมวลผลให้เกิดการเคลื่อนไหว เช่น somatosensory cortex, supplementary motor area (SMA), premotor cortex, และ basal ganglia เป็นต้น

== ดูเพิ่ม ==
* [[Motor skill]]
* [[Motor control]]
* [[Motor disorder]]

== เชิงอรรถ ==
{{notelist | group = upper-alpha |30em}}

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง |30em}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*{{Commonscat-inline |Motor systems}}
[[หมวดหมู่:ระบบสั่งการ| ]]
[[หมวดหมู่:กายวิภาคศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:กายวิภาคศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:Motor control]]
[[en:motor system]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:55, 1 กรกฎาคม 2562

ระบบสั่งการ[1] หรือ ระบบมอเตอร์ (อังกฤษ: motor system) เป็นคำกว้าง ๆ ที่หมายถึงทั้งระบบประสาทกลางและโครงสร้างนอกระบบประสาทกลางซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว (motor functions)[2][3] โดยกระตุ้นให้กล้ามเนื้อหดและคลายตัวก่อการเคลื่อนไหว โครงสร้างนอกประสาทกลางอาจรวมกล้ามเนื้อโครงร่างและเส้นใยประสาทนำเข้าที่ส่งไปยังกล้ามเนื้อ โครงสร้างในระบบประสาทกลางรวมทั้งเปลือกสมอง, ก้านสมอง, ไขสันหลัง, ระบบประสาทพีระมิด (ลำเส้นใยประสาทพีระมิด) รวมทั้งเซลล์ประสาทสั่งการบน (UMN), extrapyramidal system, สมองน้อย และเซลล์ประสาทสั่งการล่าง (LMN) ในก้านสมองและไขสันหลัง[4]

ลำเส้นใยประสาทพีระมิด

ลำเส้นใยประสาทพีระมิด (pyramidal tract, pyramidal motor system) เริ่มจากศูนย์สั่งการในเปลือกสมอง[5] ลำเส้นใยประสาทนี้มีทั้งเซลล์ประสาทสั่งการบน (UMN) และล่าง (LMN) กระแสประสาทเริ่มมาจากเซลล์พิระมิดขนาดใหญ่คือเซลล์เบ็ตซ์ภายในเปลือกสมองสั่งการ (motor cortex) ซึ่งก็คือส่วน precentral gyrus ของเปลือกสมอง เซลล์เหล่านี้จึงเป็นเซลล์ประสาทสั่งการบนของลำเส้นใยประสาทนี้ แอกซอนของเซลล์จะวิ่งผ่านใต้เปลือกสมองไปยัง corona radiata[A] แล้วไปยัง internal capsule ผ่านสาขาด้านหลัง (posterior) ของ internal capsule ไปยังสมองส่วนกลางและก้านสมองส่วนท้าย (medulla oblongata)

ในส่วนล่างของก้านสมองส่วนท้าย เส้นใยประสาทเหล่านี้ 80-85% จะข้ามไขว้ทแยง (decussate) ไปยังอีกซีกหนึ่งของร่างกาย แล้วลงไปตามเนื้อขาวของ lateral funiculus ในไขสันหลัง ที่เหลือ 15-20% ลงไปตามเนื้อขาวซีกร่างกายเดียวกัน แต่ที่ส่งไปยังปลายแขนปลายขา 100% จะข้ามไปยังซีกตรงข้าม เส้นใยประสาทจะไปยุติที่เนื้อเทาในส่วน anterior horn ของไขสันหลังในระดับต่าง ๆ เป็นส่วนที่มีเซลล์ประสาทสั่งการล่าง (LMN) ส่วนเส้นประสาทสั่งการรอบนอกจะส่งกระแสประสาทจาก anterior horn ไปยังกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ

Extrapyramidal system

extrapyramidal motor system ประกอบด้วยระบบที่ปรับและควบคุมกระแสประสาทที่ส่งไปยังกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะ basal ganglia และสมองน้อย ในสาขากายวิภาคศาสตร์ extrapyramidal system เป็นเครือข่ายประสาทชีวภาพ เป็นส่วนของระบบสั่งการซึ่งก่อการเคลื่อนไหวที่ไม่ได้อยู่ใต้อำนาจจิตใจ ระบบเรียกว่า "extrapyramidal" (นอกพิระมิด) เพื่อให้ต่างกับลำเส้นใยประสาทจากเปลือกสมองส่วนสั่งการ (motor cortex) ที่ส่งแอกซอนผ่านส่วน "พีระมิด" ของก้านสมองส่วนท้าย (medulla oblongata) วิถีประสาทพิรามิด (คือ corticospinal tract และ corticobulbar tract บางส่วน) อาจส่งเส้นประสาทไปยังเซลล์ประสาทสั่งการในไขสันหลังและในก้านสมองโดยตรง เทียบกับ extrapyramidal system ที่มีบททบาทในเการปรับและควบคุมเซลล์ประสาทสั่งการโดยอ้อม

extrapyramidal tract โดยหลักพบที่ reticular formation ของพอนส์และก้านสมองส่วนท้าย และปรับการทำงานของเซลล์ประสาทสั่งการล่างในไขสันหลังที่มีบทบาทเกี่ยวกับรีเฟล็กซ์ การเคลื่อนที่ (locomotion) การเคลื่อนไหวที่ซับซ้อน และการควบคุมท่าทางของร่างกาย (postural control) ลำเส้นใยประสาทเหล่านี้เองก็ควบคุมโดยส่วนต่าง ๆ ของระบบประสาทกลาง รวมทั้ง nigrostriatal pathway, basal ganglia, สมองน้อย, vestibular nuclei และเปลือกสมองที่รับความรู้สึกส่วนต่าง ๆ องค์ประกอบการควบคุมเหล่านี้สามารถจัดเป็นส่วนของระบบประสาทนี้ เพราะปรับการทำงานของกล้ามเนื้อโดยไม่ได้ส่งกระแสประสาทไปยังเซลล์ประสาทสั่งการโดยตรง

extrapyramidal tract รวมลำเส้นใยประสาทต่าง ๆ เหล่านี้ คือ

  • rubrospinal tract
  • pontine reticulospinal tract
  • medullary reticulospinal tract
  • lateral vestibulospinal tract
  • tectospinal tract

สมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาทสั่งการ

การทำงานของระบบประสาทสั่งการจะต้องอาศัยสมองหลายบริเวณเพื่อควบคุมและประมวลผลให้เกิดการเคลื่อนไหว เช่น somatosensory cortex, supplementary motor area (SMA), premotor cortex, และ basal ganglia เป็นต้น

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถ

  1. ในสาขาประสาทกายวิภาคศาสตร์ corona radiata เป็นแผ่นเนื้อขาวที่ดำเนินไปทางด้านล่าง (ventral) โดยเรียกว่า internal capsule และดำเนินไปด้านบน (dorsal) โดยเป็น centrum semiovale แผ่นที่ประกอบด้วยแอกซอนทั้งที่ส่งขึ้น (ascending) และส่งลง (descending) นี้ขนส่งกระแสประสาทระหว่างเปลือกสมองกับส่วนอื่น ๆ ในระบบประสาทโดยมาก

อ้างอิง

    • "motor", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕, (แพทยศาสตร์) ๑. มอเตอร์, -ยนต์ ๒. -สั่งการ
    • "motor neuron", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕, (แพทยศาสตร์) เซลล์ประสาทสั่งการ
  1. Purves, Dale; Augustine, George J; Fitzpatrick, David; Hall, William C; Lamantia, Anthony Samuel; Mooney, Richard D; Platt, Michael L; White, Leonard E, บ.ก. (2018). Neuroscience (6th ed.). Sinauer Associates. Glossary, motor system, p. G-18. ISBN 9781605353807. motor systems A broad term used to describe all the central and peripheral structures that support motor behavior.
  2. VandenBos, Gary R, บ.ก. (2015). motor system. APA dictionary of psychology (2nd ed.). Washington, DC: American Psychological Association. p. 672. doi:10.1037/14646-000. ISBN 978-1-4338-1944-5. the complex of skeletal muscles, neural connections with muscle tissues, and structures of the central nervous system associated with motor functions. Also called neuromuscular system.
  3. Augustine, James R. (2008). "15 - The Motor System: Part 1 - Lower Motoneurons and the Pyramidal System". Human Neuroanatomy. San Diego, CA: Academic Press. 15.1. REGIONS INVOLVED IN MOTOR ACTIVITY, p. 259. ISBN 978-0-12-068251-5.
  4. Rizzolatti, G; Luppino, G (2001). "The Cortical Motor System". Neuron. 31: 889–901.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น

  • วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Motor systems