ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โบซอน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AekarajLo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
AekarajLo (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8209347 สร้างโดย AekarajLo (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
ใน[[ฟิสิกส์เชิงอนุภาค]], '''โบซอน''' ({{lang-en|boson}}) หมายถึง [[อนุภาคที่เล็กกว่าอะตอม|อนุภาค]]ที่เป็นไปตาม [[สถิติแบบโบส-ไอน์สไตน์]] มี[[สปิน (ฟิสิกส์)|สปิน]]เป็นจำนวนเต็ม สามารถมีโบซอนหลายๆ ตัวอยู่ใน[[สถานะควอนตัม]]เดียวกันได้ คำว่า "โบซอน" มาจากชื่อของนักวิทยาศาสตร์ชาวอินเดีย คือ [[สัตเยนทระ นาถ โพส]]<ref>{{cite web
ใน[[ฟิสิกส์เชิงอนุภาค]], '''โบซอน''' ({{lang-en|boson}}) หมายถึง [[อนุภาคที่เล็กกว่าอะตอม|อนุภาค]]ที่เป็นไปตาม [[สถิติแบบโพส-ไอน์สไตน์]] มี[[สปิน (ฟิสิกส์)|สปิน]]เป็นจำนวนเต็ม สามารถมีโบซอนหลายๆ ตัวอยู่ใน[[สถานะควอนตัม]]เดียวกันได้ คำว่า "โบซอน" มาจากชื่อของนักวิทยาศาสตร์ชาวอินเดีย คือ [[สัตเยนทระ นาถ โพส]]<ref>{{cite web
| url = http://www.merriam-webster.com/dictionary/boson
| url = http://www.merriam-webster.com/dictionary/boson
| title = boson (dictionary entry)
| title = boson (dictionary entry)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:09, 7 เมษายน 2562

ในฟิสิกส์เชิงอนุภาค, โบซอน (อังกฤษ: boson) หมายถึง อนุภาคที่เป็นไปตาม สถิติแบบโพส-ไอน์สไตน์ มีสปินเป็นจำนวนเต็ม สามารถมีโบซอนหลายๆ ตัวอยู่ในสถานะควอนตัมเดียวกันได้ คำว่า "โบซอน" มาจากชื่อของนักวิทยาศาสตร์ชาวอินเดีย คือ สัตเยนทระ นาถ โพส[1]

โบซอนมีลักษณะตรงกันข้ามกับเฟอร์มิออน ที่เป็นไปตาม สถิติแบบแฟร์มี-ดิแรก เฟอร์มิออนตั้งแต่สองตัวหรือมากกว่านั้นจะไม่สามารถอยู่ในสถานะควอนตัมเดียวกันได้

โบซอนเป็นได้ทั้งอนุภาคมูลฐาน เช่น โฟตอน หรือเป็นอนุภาคประกอบ เช่น มีซอน โดยโบซอนส่วนมากจะเป็นอนุภาคแบบประกอบ โดยตาม "แบบจำลองมาตรฐานของฟิสิกส์เชิงอนุภาค" มีโบซอน 6 ชนิดที่เป็นอนุภาคมูลฐาน คือ

ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555 องค์การวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป (CERN) ประกาศการค้นพบโบซอนชนิดใหม่ซึ่งเรียกได้ว่าเป็น "อนุภาคที่สอดคล้องกับอนุภาคฮิกส์" มากที่สุด โดยทางเซิร์นจะทำการตรวจสอบต่อไป[2][3]

โบซอนแบบอนุภาคประกอบ มีความสำคัญมากในการศึกษาของไหลยิ่งยวด และการประยุกต์ใช้ของเหลวผลควบแน่นโพส–ไอน์สไตน์ชนิดอื่นๆ

อ้างอิง

  1. "boson (dictionary entry)". Merriam-Webster's Online Dictionary. สืบค้นเมื่อ 2010-03-21.
  2. http://indico.cern.ch/conferenceDisplay.py?confId=196564
  3. http://press.web.cern.ch/press/PressReleases/Releases2012/PR16.12E.html