ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปราสาทโอซากะ"

พิกัด: 34°41′14″N 135°31′33″E / 34.68722°N 135.52583°E / 34.68722; 135.52583
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Qasdfsdqq (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "โทะโยะโตะมิ" → "โทโยโตมิ" +แทนที่ "ฮิเดะโยะชิ" → "ฮิเดโยชิ" +แทนที่ "ยุคเอะโดะ" → "ยุคเอโดะ" +แทนที่ "โทะกุงะวะ" → "โทกูงาวะ" +แทนที่ "อิเอะยะสึ" → "อิเอยาซุ" +แทนที่ "อิเอะยะซุ" → "อิเอยาซุ" +แทนที่ "เซะกิงะฮะระ" → "เซกิงาฮาระ" +แทนที่ "เอะโดะ" → "เอโดะ" +แทนที่ "ฮิเดะโยะริ" → "ฮิเดโยริ" +แทนที่ "ฮิเดะตะดะ" → "ฮิเดตาดะ" +แทนที่ "เซะโตะ" → "เซโตะ" +แทนที่ "รัฐบาลบะกุฟุ" → "รัฐบาลเอโดะ" +แทนที่ "โอะดะ" → "โอดะ" +แทนที่ "โนะบุนะงะ" → "โนบูนางะ" ด้วยสจห.
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
| pref = 大坂城
| pref = 大坂城
| ar_called = ปราสาททอง (金城)
| ar_called = ปราสาททอง (金城)
| tower_struct = ศิลปะ[[สมัยโทะโยะโตะมิ]] และ<br />[[ยุคเอะโดะ|สมัยโทะงุงะวะ]]
| tower_struct = ศิลปะสมัยโทโยโตมิ และ<br />[[ยุคเอโดะ|สมัยเอโดะ]]
| builders = [[โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ]] และ[[โทกูงาวะ อิเอยาซุ]]
| builders = [[โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ]] (豊臣秀吉)/[[โทะกุงะวะ อิเอะยะสึ]]
| build_y = [[พ.ศ. 2126]]
| build_y = พ.ศ. 2126
| rulers = [[ตระกูลโทะโยะโตะมิ]] [[ตระกูลโอะกุฮิระ]] และ[[ตระกูลโทะกุงะวะ]]
| rulers = [[ตระกูลโทโยโตมิ]] [[ตระกูลโอกูฮิระ]] และ[[ตระกูลโทกูงาวะ]]
| reject_y = [[พ.ศ. 2411]]
| reject_y = พ.ศ. 2411
}}
}}


'''ปราสาทโอซากะ''' ({{ญี่ปุ่น|大坂城 หรือ 大阪城}}) เป็นปราสาทญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในเขตชูโอ นคร[[โอซากะ]] [[ประเทศญี่ปุ่น]] เป็นปราสาทที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น มีบทบาทในช่วงสงครามการรวมประเทศญี่ปุ่นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 ใน[[ยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ]]<ref>{{cite web|url=http://www.osaka-info.jp/en/culture/2007may/01.html |title=Uemachidaichi : OSAKA-INFO - Osaka Visitor's Guide |publisher=Osaka-info.jp |date= |accessdate=2013-02-15}}</ref>
'''ปราสาทโอซากะ''' ({{ญี่ปุ่น|大坂城 หรือ 大阪城}}) เป็นปราสาทญี่ปุ่น ตั้งอยู่ใน[[แขวงชูโอ (โอซากะ)|แขวงชูโอ]] นคร[[โอซากะ]] [[ประเทศญี่ปุ่น]] เป็นปราสาทที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น มีบทบาทในช่วงสงครามการรวมประเทศญี่ปุ่นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 ใน[[ยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ]]<ref>{{cite web|url=http://www.osaka-info.jp/en/culture/2007may/01.html |title=Uemachidaichi : OSAKA-INFO - Osaka Visitor's Guide |publisher=Osaka-info.jp |date= |accessdate=2013-02-15}}</ref>


== ลักษณะเด่น ==
== ลักษณะเด่น ==
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
สิ่งที่น่าสนใจยังรวมถึง หลังคารูป[[ปลาโลมา]]แปดตัวของหอ และหลังคาอยู่ประดับไปด้วยกระเบื้องและแกะสลักเป็นรูปทรงของ[[เสือ]] ซึ่งทั้งหมดจะถูกชุบด้วย[[ทองคำ]]
สิ่งที่น่าสนใจยังรวมถึง หลังคารูป[[ปลาโลมา]]แปดตัวของหอ และหลังคาอยู่ประดับไปด้วยกระเบื้องและแกะสลักเป็นรูปทรงของ[[เสือ]] ซึ่งทั้งหมดจะถูกชุบด้วย[[ทองคำ]]


หอสูงของปราสาทได้รับการซ่อมแซมใหม่ในปี [[พ.ศ. 2540]] การซ่อมแซมในครั้งนี้ได้นำโครงสร้างอันงดงามของกำแพงความบริสุทธิ์และความสุกใสของทองคำกลับมาให้เราเห็นอีกครั้ง ความงดงามของปราสาทจึงได้กลายมาเป็นสัญลักษณ์ของเมืองโอซากะ
หอสูงของปราสาทได้รับการซ่อมแซมใหม่ในปี พ.ศ. 2540 การซ่อมแซมในครั้งนี้ได้นำโครงสร้างอันงดงามของกำแพงความบริสุทธิ์และความสุกใสของทองคำกลับมาให้เราเห็นอีกครั้ง ความงดงามของปราสาทจึงได้กลายมาเป็นสัญลักษณ์ของเมืองโอซากะ


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
ในปี ค.ศ. 1583 [[โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ]] สั่งให้มีการก่อสร้างปราสาทโอซากะที่บริเวณวัดอิชิยะมะฮงกัน โดยนำแบบแปลนมาจาก[[ปราสาทอะซุชิ]] อันเป็นศูนย์บัญชาการหลักของ[[โอะดะ โนะบุนะงะ]] โทะโยะโตะมิต้องการจะสร้างให้เหมือนกับปราสาทอะซุชิ แต่สุดท้ายแล้วกลับโดดเด่นกว่า โดยหอคอยหลักมี 5 ชั้น และมีชั้นใต้ดินอีก 3 ชั้น มีใบไม้ทองที่ด้านข้างของปราสาท ทำให้ตัวปราสาทสวยงามโดดเด่นประทับใจผู้พบเห็น ในปี ค.ศ. 1585 เมื่อตัวปราสาทแล้วเสร็จ โทะโยะโตะมิจึงเริ่มแผนขยายตัวปราสาทเพิ่อป้องกันการรุกรานจากข้าศึก จนประทั่งในปี ค.ศ. 1597 การก่อสร้างได้แล้วเสร็จและฮิเดะโยะชิได้เสียชีวิตลง ตัวปราสาทจึงตกเป็นของบุตรของฮิเดะโยะชิ คือ [[โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะริ]]
ในปี ค.ศ. 1583 [[โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ]] สั่งให้มีการก่อสร้างปราสาทโอซากะที่บริเวณวัดอิชิยะมะฮงกัน โดยนำแบบแปลนมาจาก[[ปราสาทอะซุชิ]] อันเป็นศูนย์บัญชาการหลักของ[[โอดะ โนบูนางะ]] โทโยโตมิต้องการจะสร้างให้เหมือนกับปราสาทอะซุชิ แต่สุดท้ายแล้วกลับโดดเด่นกว่า โดยหอคอยหลักมี 5 ชั้น และมีชั้นใต้ดินอีก 3 ชั้น มีใบไม้ทองที่ด้านข้างของปราสาท ทำให้ตัวปราสาทสวยงามโดดเด่นประทับใจผู้พบเห็น ในปี ค.ศ. 1585 เมื่อตัวปราสาทแล้วเสร็จ โทโยโตมิจึงเริ่มแผนขยายตัวปราสาทเพิ่อป้องกันการรุกรานจากข้าศึก จนประทั่งในปี ค.ศ. 1597 การก่อสร้างได้แล้วเสร็จและฮิเดโยชิได้เสียชีวิตลง ตัวปราสาทจึงตกเป็นของบุตรของฮิเดโยชิ คือ [[โทโยโตมิ ฮิเดโยริ]]


ในปี ค.ศ. 1600 [[โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ]] ปราบศัตรูลงได้ใน[[ยุทธการเซะกิงะฮะระ]]และเริ่มจัดตั้ง[[รัฐบาลบะกุฟุ]]ที่[[เอะโดะ]] ในปี ค.ศ. 1614 โทะกุงะวะเริ่มโจมตีกองกำลังของฮิเดะโยะริในช่วงหน้าหนาวจนเข้าสู่ยุทธการ[[การล้อมโอซากะ]]<ref>{{cite news | first=Miki | last=Meek | coauthors= | title=The Siege of Osaka Castle | date= | publisher= | url =http://ngm.nationalgeographic.com/ngm/0312/feature5/zoomify/main.html | work =National Geographic Magazine | pages = | accessdate = 2008-01-22 | language = }}</ref> แม้กองกำลังของโทะโยะโตะมิมีจะน้อยกว่ากองกำลังของโทะกุงะวะเกือบครึ่งหนึ่ง แต่ก็สามารถต้านทานทัพ 200,000 นายของโทะกุงะวะและรักษากำแพงเมืองเอาไว้ได้
ในปี ค.ศ. 1600 [[โทกูงาวะ อิเอยาซุ]] ปราบศัตรูลงได้ใน[[ยุทธการที่เซกิงาฮาระ]]และเริ่มจัดตั้ง[[รัฐบาลเอโดะ]] ในปี ค.ศ. 1614 โทกูงาวะเริ่มโจมตีกองกำลังของฮิเดโยริในช่วงหน้าหนาวจนเข้าสู่ยุทธการ[[การล้อมโอซากะ]]<ref>{{cite news | first=Miki | last=Meek | coauthors= | title=The Siege of Osaka Castle | date= | publisher= | url =http://ngm.nationalgeographic.com/ngm/0312/feature5/zoomify/main.html | work =National Geographic Magazine | pages = | accessdate = 2008-01-22 | language = }}</ref> แม้กองกำลังของโทโยโตมิมีจะน้อยกว่ากองกำลังของโทกูงาวะเกือบครึ่งหนึ่ง แต่ก็สามารถต้านทานทัพ 200,000 นายของโทกูงาวะและรักษากำแพงเมืองเอาไว้ได้


ในช่วงฤดูร้อนปี ค.ศ. 1615 ฮิเดะโยะริเริ่มขุดคูเมืองรอบนอกเพิ่มขึ้นอีกชั้น โทะกุงะวะจึงได้ส่งกองกำลังของตนไปโจมตีปราสาทโอซากะอีกครั้งหนึ่งและสามารถเจาะกำลังทหารของโทะโยะโตะมิเข้าไปในกำแพงเมืองได้เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ปราสาทโอซากะจึงตกเป็นของโทะกุงะวะ และตระกูลโทะโยะโตะมิก็ถึงคราอวสาน
ในช่วงฤดูร้อนปี ค.ศ. 1615 ฮิเดโยริเริ่มขุดคูเมืองรอบนอกเพิ่มขึ้นอีกชั้น โทกูงาวะจึงได้ส่งกองกำลังของตนไปโจมตีปราสาทโอซากะอีกครั้งหนึ่งและสามารถเจาะกำลังทหารของโทโยโตมิเข้าไปในกำแพงเมืองได้เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ปราสาทโอซากะจึงตกเป็นของโทกูงาวะ และตระกูลโทโยโตมิก็ถึงคราอวสาน


ในปี ค.ศ. 1620 [[โทะกุงะวะ ฮิเดะตะดะ]] โชกุนคนที่ 2 แห่ง[[ตระกูลโทะกุงะวะ]] เริ่มบูรณะและสร้างปราสาทโอซากะขึ้นมาใหม่ ยกระดับหอคอยให้สูงขึ้น ภายนอกมี 5 ชั้น ภายในมี 8 ชั้น ก่อสร้างกำแพงใหม่ให้เป็นเกียรติแต่ตระกูลซะมุไรแต่ละคน กำแพงในสมัยนั้นยังคงอยู่มาจนทุกวันนี้โดยนำหินมาจาก[[ทะเลเซะโตะใน]] และสลักยอดด้วยชื่อของตระกูลที่อุทิศให้กับการสร้างกำแพงเหล่านี้
ในปี ค.ศ. 1620 [[โทกูงาวะ ฮิเดตาดะ]] โชกุนคนที่ 2 แห่ง[[ตระกูลโทกูงาวะ]] เริ่มบูรณะและสร้างปราสาทโอซากะขึ้นมาใหม่ ยกระดับหอคอยให้สูงขึ้น ภายนอกมี 5 ชั้น ภายในมี 8 ชั้น ก่อสร้างกำแพงใหม่ให้เป็นเกียรติแต่ตระกูลซะมุไรแต่ละคน กำแพงในสมัยนั้นยังคงอยู่มาจนทุกวันนี้โดยนำหินมาจาก[[ทะเลเซโตะใน]] และสลักยอดด้วยชื่อของตระกูลที่อุทิศให้กับการสร้างกำแพงเหล่านี้


ในปี ค.ศ. 1660 เกิดเหตุการณ์ฟ้าผ่าที่คลังแสงเป็นผลให้เกิดระเบิดและไฟไหม้ตัวปราสาท จากนั้นในปี 1665 เกิดฟ้าผ่าทำให้ตัวปราสาทหลักได้รับความเสียหายและพังลงมา
ในปี ค.ศ. 1660 เกิดเหตุการณ์ฟ้าผ่าที่คลังแสงเป็นผลให้เกิดระเบิดและไฟไหม้ตัวปราสาท จากนั้นในปี 1665 เกิดฟ้าผ่าทำให้ตัวปราสาทหลักได้รับความเสียหายและพังลงมา


หลังถูกปล่อยทิ้งร้างมานาน รัฐบาลบะกุฟุต้องการจะซ่อมตัวปราสาทซึ่งมีส่วนให้ต้องซ่อมอีกมาก ในปี 1843 รัฐบาลจึงได้เรี่ยไรเงินจากประชาชนในท้องถิ่นเพื่อสร้างคอคอยขึ้นมาใหม่อีกครั้ง
หลังถูกปล่อยทิ้งร้างมานาน รัฐบาลเอโดะต้องการจะซ่อมตัวปราสาทซึ่งมีส่วนให้ต้องซ่อมอีกมาก ในปี 1843 รัฐบาลจึงได้เรี่ยไรเงินจากประชาชนในท้องถิ่นเพื่อสร้างคอคอยขึ้นมาใหม่อีกครั้ง


ในปี ค.ศ. 1868 ปราสาทโอซากะถูกล้อมด้วยกองกำลังจักรพรรดิต่อต้านรัฐบาลบะกุฟุ และตัวปราสาทก็ถูกเผาในสงครามกลางเมืองสมัย[[การปฏิรูปเมจิ]]
ในปี ค.ศ. 1868 ปราสาทโอซากะถูกล้อมด้วยกองกำลังจักรพรรดิต่อต้านรัฐบาลเอโดะ และตัวปราสาทก็ถูกเผาในสงครามกลางเมืองสมัย[[การปฏิรูปเมจิ]]


ต่อมา รัฐบาลเมจิได้ให้ปราสาทโอวะกะเป็นคลังแสงผลิตปืน อาวุธยุทธภัณฑ์ และระเบิด เพื่อขยายขีดความสามารถทางการทหารของญี่ปุ่นในแบบฉบับของตะวันตก<ref name="autogenerated1">{{cite web|url=http://www.ndl.go.jp/scenery/kansai/e/column/osaka_army_arsenal.html |title=Osaka Army Arsenal |publisher=Ndl.go.jp |date= |accessdate=2013-02-15}}</ref>
ต่อมา รัฐบาลเมจิได้ให้ปราสาทโอวะกะเป็นคลังแสงผลิตปืน อาวุธยุทธภัณฑ์ และระเบิด เพื่อขยายขีดความสามารถทางการทหารของญี่ปุ่นในแบบฉบับของตะวันตก<ref name="autogenerated1">{{cite web|url=http://www.ndl.go.jp/scenery/kansai/e/column/osaka_army_arsenal.html |title=Osaka Army Arsenal |publisher=Ndl.go.jp |date= |accessdate=2013-02-15}}</ref>
บรรทัด 44: บรรทัด 44:
ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] คลังแสงกลายเป็นแหล่งผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ที่สำคัญของญี่ปุ่น มีคนงานกว่า 60,000 คน และเป็นเป้าหมายการโจมตีทางอากาศของฝ่ายพันธมิตรด้วย ทำให้ปราสาทโอซากะเสียหายอย่างหนักในช่วงท้ายสงครามเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1945 จากการทิ้งระเบิดครั้งใหญ่ คลังแสงเสียหายไปร้อยละ 90 และคนงานเสียชีวิต 382 คน
ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] คลังแสงกลายเป็นแหล่งผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ที่สำคัญของญี่ปุ่น มีคนงานกว่า 60,000 คน และเป็นเป้าหมายการโจมตีทางอากาศของฝ่ายพันธมิตรด้วย ทำให้ปราสาทโอซากะเสียหายอย่างหนักในช่วงท้ายสงครามเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1945 จากการทิ้งระเบิดครั้งใหญ่ คลังแสงเสียหายไปร้อยละ 90 และคนงานเสียชีวิต 382 คน


ในปี ค.ศ. 1995 เทศบาลนครโอซากะเริ่มต้นโครงการบูรณะปราสาทโอซากะอีกครั้ง โดยให้ภายนอกยังคงความเป็นยุคเอะโดะ แผนการบูรณะแล้วเสร็จในปี 1997 ตัวปราสาทมีความทันสมัยขึ้นมาก มีลิฟต์ติดตั้งภายในและมีสิ่งอำนวยความสะดวกแบบสมัยใหม่มากมาย
ในปี ค.ศ. 1995 เทศบาลนครโอซากะเริ่มต้นโครงการบูรณะปราสาทโอซากะอีกครั้ง โดยให้ภายนอกยังคงความเป็นยุคเอโดะ แผนการบูรณะแล้วเสร็จในปี 1997 ตัวปราสาทมีความทันสมัยขึ้นมาก มีลิฟต์ติดตั้งภายในและมีสิ่งอำนวยความสะดวกแบบสมัยใหม่มากมาย


==คลังภาพ==
==คลังภาพ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:02, 6 พฤศจิกายน 2561

logo
logo

ปราสาทโอซากะ
大坂城
แผนที่
ฉายา

ปราสาททอง (金城)

สถาปัตยกรรม

ศิลปะสมัยโทโยโตมิ และ
สมัยเอโดะ

ผู้สร้าง

โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ และโทกูงาวะ อิเอยาซุ

ปีที่สร้าง

พ.ศ. 2126

ปกครองโดย

ตระกูลโทโยโตมิ ตระกูลโอกูฮิระ และตระกูลโทกูงาวะ

ใช้งานถึง

พ.ศ. 2411

ปราสาทโอซากะ (ญี่ปุ่น: 大坂城 หรือ 大阪城) เป็นปราสาทญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในแขวงชูโอ นครโอซากะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นปราสาทที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น มีบทบาทในช่วงสงครามการรวมประเทศญี่ปุ่นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ[1]

ลักษณะเด่น

ปราสาทโอซากะมีสิ่งก่อสร้าง 13 อย่างที่รัฐบาลญี่ปุ่นระบุให้เป็นทรัพย์สมบัติสำคัญในทางวัฒนธรรม สิ่งที่มีชื่อเสียงมากเป็นพิเศษคือ ประตูขนาดใหญ่และและป้อมปราการที่อยู่ตามคูกำแพงเมืองรอบนอก กำแพงสูงชันที่สูงเกือบถึง 30 เมตร นั้นทำมาจากก้อนหินขนาดใหญ่ซึ่งส่งเข้ามาในโอซากะจากเหมืองที่อยู่ห่างออกไปมากกว่า 100 กิโลเมตร ความสูงของกำแพงและความกว้างของคูกำแพงเมืองที่เห็นนั้นไม่สามารถเทียบได้กับปราสาทอื่นๆในญี่ปุ่นได้เลย

สิ่งที่น่าสนใจยังรวมถึง หลังคารูปปลาโลมาแปดตัวของหอ และหลังคาอยู่ประดับไปด้วยกระเบื้องและแกะสลักเป็นรูปทรงของเสือ ซึ่งทั้งหมดจะถูกชุบด้วยทองคำ

หอสูงของปราสาทได้รับการซ่อมแซมใหม่ในปี พ.ศ. 2540 การซ่อมแซมในครั้งนี้ได้นำโครงสร้างอันงดงามของกำแพงความบริสุทธิ์และความสุกใสของทองคำกลับมาให้เราเห็นอีกครั้ง ความงดงามของปราสาทจึงได้กลายมาเป็นสัญลักษณ์ของเมืองโอซากะ

ประวัติ

ในปี ค.ศ. 1583 โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ สั่งให้มีการก่อสร้างปราสาทโอซากะที่บริเวณวัดอิชิยะมะฮงกัน โดยนำแบบแปลนมาจากปราสาทอะซุชิ อันเป็นศูนย์บัญชาการหลักของโอดะ โนบูนางะ โทโยโตมิต้องการจะสร้างให้เหมือนกับปราสาทอะซุชิ แต่สุดท้ายแล้วกลับโดดเด่นกว่า โดยหอคอยหลักมี 5 ชั้น และมีชั้นใต้ดินอีก 3 ชั้น มีใบไม้ทองที่ด้านข้างของปราสาท ทำให้ตัวปราสาทสวยงามโดดเด่นประทับใจผู้พบเห็น ในปี ค.ศ. 1585 เมื่อตัวปราสาทแล้วเสร็จ โทโยโตมิจึงเริ่มแผนขยายตัวปราสาทเพิ่อป้องกันการรุกรานจากข้าศึก จนประทั่งในปี ค.ศ. 1597 การก่อสร้างได้แล้วเสร็จและฮิเดโยชิได้เสียชีวิตลง ตัวปราสาทจึงตกเป็นของบุตรของฮิเดโยชิ คือ โทโยโตมิ ฮิเดโยริ

ในปี ค.ศ. 1600 โทกูงาวะ อิเอยาซุ ปราบศัตรูลงได้ในยุทธการที่เซกิงาฮาระและเริ่มจัดตั้งรัฐบาลเอโดะ ในปี ค.ศ. 1614 โทกูงาวะเริ่มโจมตีกองกำลังของฮิเดโยริในช่วงหน้าหนาวจนเข้าสู่ยุทธการการล้อมโอซากะ[2] แม้กองกำลังของโทโยโตมิมีจะน้อยกว่ากองกำลังของโทกูงาวะเกือบครึ่งหนึ่ง แต่ก็สามารถต้านทานทัพ 200,000 นายของโทกูงาวะและรักษากำแพงเมืองเอาไว้ได้

ในช่วงฤดูร้อนปี ค.ศ. 1615 ฮิเดโยริเริ่มขุดคูเมืองรอบนอกเพิ่มขึ้นอีกชั้น โทกูงาวะจึงได้ส่งกองกำลังของตนไปโจมตีปราสาทโอซากะอีกครั้งหนึ่งและสามารถเจาะกำลังทหารของโทโยโตมิเข้าไปในกำแพงเมืองได้เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ปราสาทโอซากะจึงตกเป็นของโทกูงาวะ และตระกูลโทโยโตมิก็ถึงคราอวสาน

ในปี ค.ศ. 1620 โทกูงาวะ ฮิเดตาดะ โชกุนคนที่ 2 แห่งตระกูลโทกูงาวะ เริ่มบูรณะและสร้างปราสาทโอซากะขึ้นมาใหม่ ยกระดับหอคอยให้สูงขึ้น ภายนอกมี 5 ชั้น ภายในมี 8 ชั้น ก่อสร้างกำแพงใหม่ให้เป็นเกียรติแต่ตระกูลซะมุไรแต่ละคน กำแพงในสมัยนั้นยังคงอยู่มาจนทุกวันนี้โดยนำหินมาจากทะเลเซโตะใน และสลักยอดด้วยชื่อของตระกูลที่อุทิศให้กับการสร้างกำแพงเหล่านี้

ในปี ค.ศ. 1660 เกิดเหตุการณ์ฟ้าผ่าที่คลังแสงเป็นผลให้เกิดระเบิดและไฟไหม้ตัวปราสาท จากนั้นในปี 1665 เกิดฟ้าผ่าทำให้ตัวปราสาทหลักได้รับความเสียหายและพังลงมา

หลังถูกปล่อยทิ้งร้างมานาน รัฐบาลเอโดะต้องการจะซ่อมตัวปราสาทซึ่งมีส่วนให้ต้องซ่อมอีกมาก ในปี 1843 รัฐบาลจึงได้เรี่ยไรเงินจากประชาชนในท้องถิ่นเพื่อสร้างคอคอยขึ้นมาใหม่อีกครั้ง

ในปี ค.ศ. 1868 ปราสาทโอซากะถูกล้อมด้วยกองกำลังจักรพรรดิต่อต้านรัฐบาลเอโดะ และตัวปราสาทก็ถูกเผาในสงครามกลางเมืองสมัยการปฏิรูปเมจิ

ต่อมา รัฐบาลเมจิได้ให้ปราสาทโอวะกะเป็นคลังแสงผลิตปืน อาวุธยุทธภัณฑ์ และระเบิด เพื่อขยายขีดความสามารถทางการทหารของญี่ปุ่นในแบบฉบับของตะวันตก[3]

ในปี ค.ศ. 1928 ได้มีการสร้างหอคอยหลักขึ้นมาใหม่หลังจากที่เทศบาลเมืองโอซากะสามารถระดมทุนจากประชาชนมาจำนวนมาก

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง คลังแสงกลายเป็นแหล่งผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ที่สำคัญของญี่ปุ่น มีคนงานกว่า 60,000 คน และเป็นเป้าหมายการโจมตีทางอากาศของฝ่ายพันธมิตรด้วย ทำให้ปราสาทโอซากะเสียหายอย่างหนักในช่วงท้ายสงครามเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1945 จากการทิ้งระเบิดครั้งใหญ่ คลังแสงเสียหายไปร้อยละ 90 และคนงานเสียชีวิต 382 คน

ในปี ค.ศ. 1995 เทศบาลนครโอซากะเริ่มต้นโครงการบูรณะปราสาทโอซากะอีกครั้ง โดยให้ภายนอกยังคงความเป็นยุคเอโดะ แผนการบูรณะแล้วเสร็จในปี 1997 ตัวปราสาทมีความทันสมัยขึ้นมาก มีลิฟต์ติดตั้งภายในและมีสิ่งอำนวยความสะดวกแบบสมัยใหม่มากมาย

คลังภาพ

อ้างอิง

  1. "Uemachidaichi : OSAKA-INFO - Osaka Visitor's Guide". Osaka-info.jp. สืบค้นเมื่อ 2013-02-15.
  2. Meek, Miki. "The Siege of Osaka Castle". National Geographic Magazine. สืบค้นเมื่อ 2008-01-22. {{cite news}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |coauthors= (help)
  3. "Osaka Army Arsenal". Ndl.go.jp. สืบค้นเมื่อ 2013-02-15.

แหล่งข้อมูลอื่น


34°41′14″N 135°31′33″E / 34.68722°N 135.52583°E / 34.68722; 135.52583