ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Dytoy/กระบะทราย"

พิกัด: 16°46′28″N 96°09′32″E / 16.774422°N 96.158756°E / 16.774422; 96.158756
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dytoy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dytoy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
| native_name = ဆူးလေဘုရား
| native_name = ဆူးလေဘုရား
| native_name_lang = my
| native_name_lang = my
| image = Sule Pagoda 2017.jpg
| image = 20160815 Sule Pagoda Yangon 0307.jpg
| image_size = 250
| image_size = 250
| alt =
| alt =
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
}}
}}


'''เจดีย์ซูเล''' ({{lang-my|ဆူးလေဘုရား}}; {{IPA-my|sʰúlè pʰəjá|pron}}) เป็นเจดีย์ตั้งอยู่ในใจกลางเมือง[[ย่างกุ้ง]] เป็นพื้นที่ภูมิศาสตร์สำคัญของการเมืองพม่าร่วมสมัย ตามตำนานระบุว่าเจดีย์ถูกสร้างขึ้นก่อนเจดีย์ชเวดากอง ในช่วง[[พระโคตมพุทธเจ้า|พระพุทธเจ้า]]ยังมีพระชนม์ชีพอยู่ ทำให้เจดีย์องค์นี้เก่าแก่กว่า 2,500 ปี ตำนานระบุว่าสถานที่สำหรับก่อสร้างเจดีย์ชเวดากองได้รับการแนะนำจาก [[นะ (วิญญาณ)|นะ]] เก่าแก่ของเมืองที่สถิตอยู่บริเวณเจดีย์ซูเล
'''เจดีย์ซูเล''' ({{lang-my|ဆူးလေဘုရား}}; {{IPA-my|sʰúlè pʰəjá|pron}}) เป็นเจดีย์ตั้งอยู่ในใจกลางเมือง[[ย่างกุ้ง]] เป็นพื้นที่ภูมิศาสตร์สำคัญของการเมืองพม่าร่วมสมัย ตามตำนานระบุว่าเจดีย์ถูกสร้างขึ้นก่อนเจดีย์ชเวดากอง ในช่วง[[พระโคตมพุทธเจ้า|พระพุทธเจ้า]]ยังมีพระชนม์ชีพอยู่ ทำให้เจดีย์องค์นี้เก่าแก่กว่า 2,500 ปี ตำนานระบุว่าสถานที่สำหรับก่อสร้างเจดีย์ชเวดากองได้รับการแนะนำจาก [[นะ (วิญญาณ)|นะ]] เก่าแก่ของเมืองที่สถิตอยู่บริเวณเจดีย์ซูเล<ref name="buddhist"/><ref name="yangon">[https://www.wmf.org/sites/default/files/article/.../yangon_book_final.pdf yangon book final]</ref><ref name="khinmaung"/>


เจดีย์ซูเล เป็นจุดศูนย์กลางทางการเมืองของย่างกุ้งและพม่า เป็นสถานที่ชุมนุมประท้วงใน[[การก่อการกำเริบ 8888|เหตุการณ์ปฏิวัติ 8888]] ในปี พ.ศ. 2531 และ[[การปฏิวัติผ้ากาสาวพัสตร์]] ในปี พ.ศ. 2550 เจดีย์ซูเลถูกจัดอยู่ในรายชื่อโบราณสถานของเมืองย่างกุ้ง<ref name=hl>{{cite journal|url=http://www.myanmar.gov.mm/myanmartimes/no87/New/14.htm|title=Special Reports: Heritage List|work=[[The Myanmar Times]]|date=2001-10-29|archiveurl=https://web.archive.org/web/20090615164607/http://www.myanmar.gov.mm/myanmartimes/no87/New/14.htm|archivedate=15 June 2009}}</ref>
เจดีย์ซูเล เป็นจุดศูนย์กลางทางการเมืองของย่างกุ้งและพม่า เป็นสถานที่ชุมนุมประท้วงใน[[การก่อการกำเริบ 8888|เหตุการณ์ปฏิวัติ 8888]] ในปี พ.ศ. 2531<ref name="Uprising"/> และ[[การปฏิวัติผ้ากาสาวพัสตร์]] ในปี พ.ศ. 2550<ref name="yangon"/><ref name="Saffron"/> เจดีย์ซูเลถูกจัดอยู่ในรายชื่อโบราณสถานของเมืองย่างกุ้ง<ref name=hl>{{cite journal|url=http://www.myanmar.gov.mm/myanmartimes/no87/New/14.htm|title=Special Reports: Heritage List|work=[[The Myanmar Times]]|date=2001-10-29|archiveurl=https://web.archive.org/web/20090615164607/http://www.myanmar.gov.mm/myanmartimes/no87/New/14.htm|archivedate=15 June 2009}}</ref>


==เจดีย์==
==เจดีย์==
เจดีย์ซูเลโครงสร้างเดิมคาดว่าได้รับอิทธิพลจากสถูปเจดีย์ของอินเดียซึ่งทำรูปแบบคล้าย ๆ กันคือเป็นรูปเนินดินสำหรับเก็บพระธาตุ ต่อมาเริ่มได้รับวัฒนธรรมท้องถิ่น รูปแบบอิทธิพลของอินเดียตอนใต้จึงเริ่มเปลี่ยนแปลงเป็นสถาปัตยกรรมแบบท้องถิ่นเป็นรูปของเจดีย์ เป็นที่เชื่อกันว่าเคยเป็นที่ประดิษฐานพระเกศาธาตุของพระพุทธเจ้า ที่ได้ประทานให้แก่พี่น้องพ่อค้าสองคนคือ ตปุสสะและภัลลิกะ
เจดีย์ซูเลโครงสร้างเดิมคาดว่าได้รับอิทธิพลจากสถูปเจดีย์ของอินเดียซึ่งทำรูปแบบคล้าย ๆ กันคือเป็นรูปเนินดินสำหรับเก็บพระธาตุ ต่อมาเริ่มได้รับวัฒนธรรมท้องถิ่น รูปแบบอิทธิพลของอินเดียตอนใต้จึงเริ่มเปลี่ยนแปลงเป็นสถาปัตยกรรมแบบท้องถิ่นเป็นรูปของเจดีย์ เป็นที่เชื่อกันว่าเคยเป็นที่ประดิษฐานพระเกศาธาตุของพระพุทธเจ้า ที่ได้ประทานให้แก่พี่น้องพ่อค้าสองคนคือ ตปุสสะและภัลลิกะ<ref name="buddhist">[https://www.buddhistdoor.net/news/yangons-ancient-sule-pagoda-receives-a-glistering-facelift Sule Pagoda Facelift]</ref><ref name="yangon"/>


==ประวัติและตำนาน==
==ประวัติและตำนาน==
ตามตำนานที่ตั้งของเจดีย์ซูเลในปัจจุบันเคยเป็นที่ตั้งของศาล [[นะ (วิญญาณ)|นะ]] นามว่า ซูเล เป็นกษัตริย์ของนะ เมื่อ[[ท้าวสักกะ]] อยากจะช่วยเหลือกษัตริย์โอกะละปา เพื่อหาสถานที่ประดิษฐานพระเกศาธาตุ แต่ท้าวสักกะไม่ทราบว่าควรเป็นที่ไหน เหล่าเทวดา มนุษย์ พร้อมด้วยกษัตริย์โอกะละปาจึงมาประชุมบริเวณซูเล และนะซูเลจึงได้แนะนำสถานที่สำหรับการสร้าง[[เจดีย์ชเวดากอง]]
ตามตำนานที่ตั้งของเจดีย์ซูเลในปัจจุบันเคยเป็นที่สถิตของ [[นะ (วิญญาณ)|นะ]] นามว่า ซูเล เมื่อ[[ท้าวสักกะ]]อยากจะช่วยเหลือกษัตริย์โอกะละปา เพื่อหาสถานที่ประดิษฐานพระเกศาธาตุ แต่ท้าวสักกะไม่ทราบว่าควรเป็นที่ไหน เหล่าเทวดา มนุษย์ พร้อมด้วยกษัตริย์โอกะละปาจึงมาประชุมบริเวณซูเล และนะซูเลจึงได้แนะนำสถานที่สำหรับการสร้าง[[เจดีย์ชเวดากอง]]<ref name="yangon"/><ref name="khinmaung"/>


เจดีย์ซูเลเริ่มเป็นศูนย์กลางของย่างกุ้งโดย อเล็กซานเดอร์ ฟราเซอร์ (Lt. Alexander Fraser) วิศวะกรจากเบงกอล ผู้ซึ่งสร้างรูปแบบถนนย่างกุ้งอย่างในปัจจุบัน ไม่นานนักหลังจากการยึดครองของ[[จักรวรรดิบริติช|จักรวรรดิอังกฤษ]]ในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ฟราเซอร์ ยังให้ยืมชื่อของเขาไปตั้งชื่อถนน ปัจจุบันได้เปลี่ยนชื่อเป็น ถนนอโนรธา และยังคงเป็นหนึ่งในเส้นทางสายหลักของย่างกุ้ง)
เจดีย์ซูเลเริ่มเป็นศูนย์กลางของย่างกุ้งโดย อเล็กซานเดอร์ ฟราเซอร์ (Lt. Alexander Fraser) วิศวะกรจากเบงกอล ผู้ซึ่งสร้างรูปแบบถนนย่างกุ้งอย่างในปัจจุบัน ไม่นานนักหลังจากการยึดครองของ[[จักรวรรดิบริติช|จักรวรรดิอังกฤษ]]ในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ฟราเซอร์ ยังให้ยืมชื่อของเขาไปตั้งชื่อถนน ปัจจุบันได้เปลี่ยนชื่อเป็น ถนนอโนรธา และยังคงเป็นหนึ่งในเส้นทางสายหลักของย่างกุ้ง)<ref name="yangon"/><ref name="khinmaung"/>


เจดีย์เป็นรูปทรงแปดเหลี่ยมซึ่งแต่ละด้านมีความยาว 24 ฟุต (7 เมตร) สูง 144 ฟุต (9 1/2) นิ้ว (44 เมตร) เจดีย์ได้รับการบูรณะและมีขนาดเท่าปัจจุบันในสมัย[[พระนางเชงสอบู]] (ค.ศ. 1453–1472) รอบ ๆ เจดีย์มีระฆังสัมฤทธิ์ 10 ใบขนาดและอายุแตกต่างกันไปโดยมีการจารึกชื่อผู้บริจาคและวันที่ถวาย คำอธิบายเกี่ยวกับชื่อเจดีย์แตกต่างกันไปตามความเชื่อเช่น มาจาก ซู-เว หมายถึง "การชุมนุมโดยรอบ" มาจากเมื่อครั้งกษัตริย์โอกะละปาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ สืบหาที่ตั้งของเนินเขาเชียงกุตระเพื่อสร้างเจดีย์ อีกความเชื่อกล่าวว่ามาจาก ซู-เล หมายถึงพุ่มไม้ป่าชนิดหนึ่ง และสมมุติฐานใหม่ที่ไม่เกี่ยวกับตำนานมาจากความเชื่อมโยงกับภาษาบาลีคำว่า จุลฺล หมายถึง "เล็ก" และ เจติย หมายถึง "เจดีย์"
เจดีย์เป็นรูปทรงแปดเหลี่ยมซึ่งแต่ละด้านมีความยาว 24 ฟุต (7 เมตร) สูง 144 ฟุต 9½ นิ้ว (44 เมตร) เจดีย์ได้รับการบูรณะและมีขนาดเท่าปัจจุบันในสมัย[[พระนางเชงสอบู]] (ค.ศ. 1453–1472) รอบ ๆ เจดีย์มีระฆังสัมฤทธิ์ 10 ใบขนาดและอายุแตกต่างกันไปโดยมีการจารึกชื่อผู้บริจาคและวันที่ถวาย คำอธิบายเกี่ยวกับชื่อเจดีย์แตกต่างกันไปตามความเชื่อเช่น มาจาก ซู-เว หมายถึง "การชุมนุมโดยรอบ" มาจากเมื่อครั้งกษัตริย์โอกะละปาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ สืบหาที่ตั้งของเนินเขาเชียงกุตระเพื่อสร้างเจดีย์ อีกความเชื่อกล่าวว่ามาจาก ซู-เล หมายถึงพุ่มไม้ป่าชนิดหนึ่ง และสมมุติฐานใหม่ที่ไม่เกี่ยวกับตำนานมาจากความเชื่อมโยงกับภาษาบาลีคำว่า จุลฺล หมายถึง "เล็ก" และ เจติย หมายถึง "เจดีย์"<ref name="buddhist"/><ref name="yangon"/><ref name="khinmaung">[[Khin Maung Nyunt]], from a series of articles on famous bells in Burma in the ''Working People's Daily'': this article published 31 January 1988.</ref>


==ที่ตั้ง==
==ที่ตั้ง==
เจดีย์ซูเลตั้งอยู่ใจกลางกรุงย่างกุ้งและเป็นส่วนหนึ่งของเมืองทั้งด้านเศรษฐกิจและชีวิตของประชาชน ระหว่างการชุมนุมประท้วงเมื่อปี พ.ศ. 2531 และ พ.ศ. 2550 เจดีย์ซูเลเป็นจุดนัดพบของผู้ประท้วงต่อต้านรัฐบาลและผู้ประท้วงเพื่อประชาธิปไตย
เจดีย์ซูเลตั้งอยู่ใจกลางกรุงย่างกุ้งและเป็นส่วนหนึ่งของเมืองทั้งด้านเศรษฐกิจและชีวิตของประชาชน ระหว่างการชุมนุมประท้วงเมื่อปี พ.ศ. 2531<ref name="Uprising"/> และ พ.ศ. 2550 เจดีย์ซูเลเป็นจุดนัดพบของผู้ประท้วงต่อต้านรัฐบาลและผู้ประท้วงเพื่อประชาธิปไตย<ref name="buddhist"/><ref name="Saffron"/>


==บทบาททางการเมือง==
==สถานที่ทางการเมือง==
ในช่วงการ[[การก่อการกำเริบ 8888|เหตุการณ์ปฏิวัติ 8888]] เจดีย์เป็นจุดนัดพบและจุดหมายปลายทางที่ได้รับการเลือก ทั้งจากแหน่งที่ตั้งและเป็นนัยสำคัญทางสัญลักษณ์ ในปี พ.ศ. 2550 ระหว่างการปฏิวัติผ้ากาสาวพัสตร์ เจดีย์ซูเลถูกใช้เป็นจุดชุมนุมในการประท้วงเพื่อประชาธิปไตย พระสงฆ์จำนวนหลายพันคนมาชุมนุมกันเพื่อกราบไหว้รอบพระเจดีย์ และเป็นสถานที่แรกที่ได้เห็นถึงปฏิกิริยารุนแรงของรัฐบาลพม่าต่อกลุ่มผู้ประท้วง
ในช่วง[[การก่อการกำเริบ 8888|เหตุการณ์ปฏิวัติ 8888]] เจดีย์เป็นจุดนัดพบและจุดหมายปลายทางที่ได้รับการเลือก เนื่องจากแหน่งที่ตั้งและเป็นนัยสำคัญทางสัญลักษณ์<ref name="Uprising">[https://www.nytimes.com/1988/08/12/world/uprising-in-burma-the-old-regime-under-siege.html Uprising in Burma]</ref> ในปี พ.ศ. 2550 ระหว่างการปฏิวัติผ้ากาสาวพัสตร์ เจดีย์ซูเลถูกใช้เป็นจุดชุมนุมในการประท้วงเพื่อประชาธิปไตย พระสงฆ์จำนวนหลายพันคนมาชุมนุมกันเพื่อกราบไหว้รอบพระเจดีย์ และเป็นสถานที่แรกที่ได้เห็นถึงปฏิกิริยารุนแรงของรัฐบาลพม่าต่อกลุ่มผู้ประท้วง<ref name="buddhist"/><ref name="Saffron">[https://www.irrawaddy.com/from-the-archive/saffron-revolution-rangoon-diary.html Saffron Revolution: A Rangoon Diary]</ref>

==คลังภาพ==
<center><gallery mode="nolines" widths="180" heights="140">
ไฟล์:Fytche Square, Rangoon.jpg|เจดีย์ซูเล ค.ศ. 1895
ไฟล์:Sule Pagoda Yangon Burma.JPG|บริเวณด้านนอกรอบเจดีย์
ไฟล์:Sule Pagoda 2017.jpg|บริเวณภายในเจดีย์
ไฟล์:Sule Bo Bo Gyi.JPG|ซูเล โบโบจี [[นะ (วิญญาณ)|นะ]]เจดีย์ซูเล
</gallery></center>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:21, 2 กันยายน 2561

เจดีย์ซูเล
ဆူးလေဘုရား
ศาสนา
ศาสนาพุทธ
นิกายเถรวาท
ภูมิภาคเขตย่างกุ้ง
ที่ตั้ง
เทศบาลย่างกุ้ง
ประเทศพม่า
Dytoy/กระบะทรายตั้งอยู่ในประเทศพม่า
Dytoy/กระบะทราย
ที่ตั้งในประเทศพม่า
พิกัดภูมิศาสตร์16°46′28″N 96°09′32″E / 16.774422°N 96.158756°E / 16.774422; 96.158756

เจดีย์ซูเล (พม่า: ဆူးလေဘုရား; ออกเสียง: [sʰúlè pʰəjá]) เป็นเจดีย์ตั้งอยู่ในใจกลางเมืองย่างกุ้ง เป็นพื้นที่ภูมิศาสตร์สำคัญของการเมืองพม่าร่วมสมัย ตามตำนานระบุว่าเจดีย์ถูกสร้างขึ้นก่อนเจดีย์ชเวดากอง ในช่วงพระพุทธเจ้ายังมีพระชนม์ชีพอยู่ ทำให้เจดีย์องค์นี้เก่าแก่กว่า 2,500 ปี ตำนานระบุว่าสถานที่สำหรับก่อสร้างเจดีย์ชเวดากองได้รับการแนะนำจาก นะ เก่าแก่ของเมืองที่สถิตอยู่บริเวณเจดีย์ซูเล[1][2][3]

เจดีย์ซูเล เป็นจุดศูนย์กลางทางการเมืองของย่างกุ้งและพม่า เป็นสถานที่ชุมนุมประท้วงในเหตุการณ์ปฏิวัติ 8888 ในปี พ.ศ. 2531[4] และการปฏิวัติผ้ากาสาวพัสตร์ ในปี พ.ศ. 2550[2][5] เจดีย์ซูเลถูกจัดอยู่ในรายชื่อโบราณสถานของเมืองย่างกุ้ง[6]

เจดีย์

เจดีย์ซูเลโครงสร้างเดิมคาดว่าได้รับอิทธิพลจากสถูปเจดีย์ของอินเดียซึ่งทำรูปแบบคล้าย ๆ กันคือเป็นรูปเนินดินสำหรับเก็บพระธาตุ ต่อมาเริ่มได้รับวัฒนธรรมท้องถิ่น รูปแบบอิทธิพลของอินเดียตอนใต้จึงเริ่มเปลี่ยนแปลงเป็นสถาปัตยกรรมแบบท้องถิ่นเป็นรูปของเจดีย์ เป็นที่เชื่อกันว่าเคยเป็นที่ประดิษฐานพระเกศาธาตุของพระพุทธเจ้า ที่ได้ประทานให้แก่พี่น้องพ่อค้าสองคนคือ ตปุสสะและภัลลิกะ[1][2]

ประวัติและตำนาน

ตามตำนานที่ตั้งของเจดีย์ซูเลในปัจจุบันเคยเป็นที่สถิตของ นะ นามว่า ซูเล เมื่อท้าวสักกะอยากจะช่วยเหลือกษัตริย์โอกะละปา เพื่อหาสถานที่ประดิษฐานพระเกศาธาตุ แต่ท้าวสักกะไม่ทราบว่าควรเป็นที่ไหน เหล่าเทวดา มนุษย์ พร้อมด้วยกษัตริย์โอกะละปาจึงมาประชุมบริเวณซูเล และนะซูเลจึงได้แนะนำสถานที่สำหรับการสร้างเจดีย์ชเวดากอง[2][3]

เจดีย์ซูเลเริ่มเป็นศูนย์กลางของย่างกุ้งโดย อเล็กซานเดอร์ ฟราเซอร์ (Lt. Alexander Fraser) วิศวะกรจากเบงกอล ผู้ซึ่งสร้างรูปแบบถนนย่างกุ้งอย่างในปัจจุบัน ไม่นานนักหลังจากการยึดครองของจักรวรรดิอังกฤษในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ฟราเซอร์ ยังให้ยืมชื่อของเขาไปตั้งชื่อถนน ปัจจุบันได้เปลี่ยนชื่อเป็น ถนนอโนรธา และยังคงเป็นหนึ่งในเส้นทางสายหลักของย่างกุ้ง)[2][3]

เจดีย์เป็นรูปทรงแปดเหลี่ยมซึ่งแต่ละด้านมีความยาว 24 ฟุต (7 เมตร) สูง 144 ฟุต 9½ นิ้ว (44 เมตร) เจดีย์ได้รับการบูรณะและมีขนาดเท่าปัจจุบันในสมัยพระนางเชงสอบู (ค.ศ. 1453–1472) รอบ ๆ เจดีย์มีระฆังสัมฤทธิ์ 10 ใบขนาดและอายุแตกต่างกันไปโดยมีการจารึกชื่อผู้บริจาคและวันที่ถวาย คำอธิบายเกี่ยวกับชื่อเจดีย์แตกต่างกันไปตามความเชื่อเช่น มาจาก ซู-เว หมายถึง "การชุมนุมโดยรอบ" มาจากเมื่อครั้งกษัตริย์โอกะละปาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ สืบหาที่ตั้งของเนินเขาเชียงกุตระเพื่อสร้างเจดีย์ อีกความเชื่อกล่าวว่ามาจาก ซู-เล หมายถึงพุ่มไม้ป่าชนิดหนึ่ง และสมมุติฐานใหม่ที่ไม่เกี่ยวกับตำนานมาจากความเชื่อมโยงกับภาษาบาลีคำว่า จุลฺล หมายถึง "เล็ก" และ เจติย หมายถึง "เจดีย์"[1][2][3]

ที่ตั้ง

เจดีย์ซูเลตั้งอยู่ใจกลางกรุงย่างกุ้งและเป็นส่วนหนึ่งของเมืองทั้งด้านเศรษฐกิจและชีวิตของประชาชน ระหว่างการชุมนุมประท้วงเมื่อปี พ.ศ. 2531[4] และ พ.ศ. 2550 เจดีย์ซูเลเป็นจุดนัดพบของผู้ประท้วงต่อต้านรัฐบาลและผู้ประท้วงเพื่อประชาธิปไตย[1][5]

สถานที่ทางการเมือง

ในช่วงเหตุการณ์ปฏิวัติ 8888 เจดีย์เป็นจุดนัดพบและจุดหมายปลายทางที่ได้รับการเลือก เนื่องจากแหน่งที่ตั้งและเป็นนัยสำคัญทางสัญลักษณ์[4] ในปี พ.ศ. 2550 ระหว่างการปฏิวัติผ้ากาสาวพัสตร์ เจดีย์ซูเลถูกใช้เป็นจุดชุมนุมในการประท้วงเพื่อประชาธิปไตย พระสงฆ์จำนวนหลายพันคนมาชุมนุมกันเพื่อกราบไหว้รอบพระเจดีย์ และเป็นสถานที่แรกที่ได้เห็นถึงปฏิกิริยารุนแรงของรัฐบาลพม่าต่อกลุ่มผู้ประท้วง[1][5]

คลังภาพ

อ้างอิง

เชิงอรรถ
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 Sule Pagoda Facelift
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 yangon book final
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Khin Maung Nyunt, from a series of articles on famous bells in Burma in the Working People's Daily: this article published 31 January 1988.
  4. 4.0 4.1 4.2 Uprising in Burma
  5. 5.0 5.1 5.2 Saffron Revolution: A Rangoon Diary
  6. "Special Reports: Heritage List". The Myanmar Times. 2001-10-29. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 June 2009.
บรรณานุกรม
  • Barnes, Gina L. “An Introduction to Buddhist Archaeology,” World Archaeology, Vol. 27, No. 2. (Oct., 1995), pp. 165–182.
  • Raga, Jose Fuste. Sule pagoda, in the centre of Yangon, Myan. Encyclopædia Britannica. 10 February 2009
  • Soni, Sujata. Evolution of Stupas in Burma. Delhi: Motilal Banarsidass Publishers Pvt. Ltd, 1991.