ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แคปต์ชา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:captcha.jpg|thumb|นี่คือแคปต์ชาของ "smwm" ที่ถูกปิดบังข้อความจากการตีความของคอมพิวเตอร์ โดยการบิดตัวอักษรและเพิ่มการไล่ระดับสีพื้นหลังเล็กน้อย]]
[[ไฟล์:KCAPTCHA_with_crowded_symbols.gif|thumb|290px|CAPTCHA ในรูปแบบต่างๆ ซึ่งมนุษย์สามารถอ่านได้ง่าย แต่ยากสำหรับบอตหรือโปรแกรมอัตโนมัติ]]
[[ไฟล์:Captchacat.png|thumb|โดยปกติแล้วแคปต์ชาจะมีช่องข้อความข้างใต้ ซึ่งจะเป็นที่ที่ให้ผู้ใช้ใส่ข้อความที่พวกเขาเห็น โดยในกรณีนี้คือ ''"sclt ..was here"'']]
'''แคปต์ชา''' (CAPTCHA, [[IPA]]: /ˈkæptʃə/) คือการทดสอบเพื่อเข้าสู่ระบบ[[คอมพิวเตอร์]]แบบโต้ตอบชนิดหนึ่ง เพื่อทดสอบว่าผู้ใช้งานเป็น[[มนุษย์]]จริงหรือไม่ (ว่าไม่ใช่[[บอต]]หรือ[[โปรแกรม]]อัตโนมัติ) คำว่า CAPTCHA ย่อมาจาก "'''C'''ompletely '''A'''utomated '''P'''ublic '''T'''uring test to tell '''C'''omputers and '''H'''umans '''A'''part" '' ([[การทดสอบของทัวริง]]สาธารณะแบบอัตโนมัติเพื่อแยกแยะว่าเป็นคอมพิวเตอร์กับมนุษย์อย่างสมบูรณ์) '' เป็นเครื่องหมายการค้าของ[[มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน]] [[สหรัฐอเมริกา]] คิดค้นขึ้นในปี [[ค.. 2000]] โดย ลูอิส วอน อาห์น (Luis von Ahn) แมนูล บลัม (Manuel Blum) นิโคลัส เจ. ฮอปเปอร์ (Nicholas J. Hopper) และ จอห์น แลงฟอร์ด (John Langford) (สามคนแรกมาจากมหาวิทยาลัย ส่วนคนสุดท้ายมาจาก[[ไอบีเอ็ม]])


'''แคปต์ชา''' ({{lang-en|CAPTCHA}}; {{IPAc-en|k|æ|p|.|tʃ|ə}}) คือการทดสอบเพื่อเข้าสู่ระบบ[[คอมพิวเตอร์]]แบบโต้ตอบชนิดหนึ่ง เพื่อทดสอบว่าผู้ใช้งานเป็น[[มนุษย์]]จริงหรือไม่ (ว่าไม่ใช่[[บอต]]หรือ[[โปรแกรม]]อัตโนมัติ) คำว่า CAPTCHA ย่อมาจาก "'''C'''ompletely '''A'''utomated '''P'''ublic '''T'''uring test to tell '''C'''omputers and '''H'''umans '''A'''part" '' ([[การทดสอบของทัวริง]]สาธารณะแบบอัตโนมัติเพื่อแยกแยะว่าเป็นคอมพิวเตอร์กับมนุษย์อย่างสมบูรณ์)''<ref>{{Cite web|url=https://www.cylab.cmu.edu/partners/success-stories/recaptcha.html|title=The reCAPTCHA Project Carnegie Mellon University CyLab|website=www.cylab.cmu.edu|access-date=2017-01-13}}</ref>
ระบบแคปต์ชาเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งซึ่งเป็น[[เครื่องแม่ข่าย]] จะถามผู้ใช้งานด้วยการทดสอบอย่างหนึ่งที่สร้างขึ้นมา และผู้ใช้จำเป็นต้องตอบให้ถูกต้องเพื่อให้สามารถเข้าสู่ระบบได้ แต่คอมพิวเตอร์เองนั้นไม่สามารถแก้ปัญหาที่ตัวมันเองสร้างขึ้นได้ สามารถตรวจได้แค่ว่าถูกหรือผิดตามที่ระบุไว้ตอนต้นเท่านั้น ระบบแคปต์ชาโดยทั่วไปจะให้ผู้ใช้ตอบคำถามด้วยการกดแป้นตัวอักษรตามที่ปรากฏในรูปภาพที่บิดเบี้ยว บางครั้งอาจมีการเพิ่มจุด แถบสี หรือเส้นหงิกงอลงในรูปภาพนั้น เพื่อวัตถุประสงค์ในการหลีกเลี่ยงการตรวจจับของโปรแกรมประเภท[[โอซีอาร์]] ซึ่งอาจแก้ปัญหาที่ทดสอบได้โดยอัตโนมัติ


คำนี้ได้ถูกยกย่องในปี [[พ.ศ. 2543]] โดย [[ลูอิส วอน ออห์น]], [[มานูเอล บลูม]], นิโคลัส เจ. ฮอปเปอร์ และ[[จอห์น แลงฟอร์ด]]<ref name="abhl">{{cite conference | last1 = von Ahn | first1 = Luis | last2 = Blum | first2 = Manuel | last3 = Hopper | first3 = Nicholas J. | last4 = Langford | first4 = John | date=May 2003 | title = CAPTCHA: Using Hard AI Problems for Security | conference= EUROCRYPT 2003: International Conference on the Theory and Applications of Cryptographic Techniques}}</ref> ซึ่งแคปต์ชาชนิดที่เราใช้ส่วนใหญ่ได้ถูกคิดค้นโดย 2 กลุ่มที่ทำงานร่วมกัน นั่นคือ (1) มาร์ก ดี. ลิลลิบริดจ์, [[มาร์ติน อบาดิ]], [[คริชนา ภารัต]] และ[[แอนเดร โบรเดอร์]] และ (2) อิราน เรเชฟ, [[กิลี รอแนน]], [[ไอลอน โซแลน]]<ref name=":0">{{Cite journal|date=2004-03-01|title=Method and system for discriminating a human action from a computerized action|url=https://patents.google.com/patent/US20050114705A1/en?q=discriminating&q=human&inventor=raanan}}</ref> รูปแบบของแคปต์ชานี้ต้องการให้ผู้ใช้พิมพ์ตัวอักษรของภาพที่บิดเบี้ยว บางครั้งอาจมีการเพิ่มตัวอักษรหรือตัวเลขที่ปิดบังไว้ที่ปรากฏบนหน้าจอ เนื่องจากการทดสอบนี้ถูกบริหารจัดการโดยคอมพิวเตอร์ ซึ่งตรงข้ามกับ[[การทดสอบทัวริง]]ที่ใช้มนุษย์ในการบริหารจัดการ ดังนั้นแล้วในบางครั้งก็อาจมีการอธิบายแคปต์ชาไว้ว่าเป็น[[การทดสอบของทัวริงแบบย้อนกลับ]]
บางครั้งมีการอธิบายระบบแคปต์ชาว่าเป็น[[การทดสอบของทัวริงแบบย้อนกลับ]] เพราะเป็นการทดสอบจากคอมพิวเตอร์ที่ส่งไปยังมนุษย์ ซึ่งในทางตรงข้าม การทดสอบของทัวริงเป็นการทดสอบจากมนุษย์ที่ส่งไปยังคอมพิวเตอร์ หรือ[[เครื่องจักรทัวริง]]


แคปต์ชาอาจใช้ในการตอบกลับฟอรั่มหรือเว็บบอร์ดสาธารณะทั่วไปตาม[[อินเทอร์เน็ต]] ทั้งนี้เพื่อป้องกัน[[บอต]]หรือ[[โปรแกรม]]อัตโนมัติทำการส่งข้อความไม่พึงประสงค์ เช่น[[สแปม]]หรือโฆษณา
แคปต์ชาอาจใช้ในการตอบกลับฟอรั่มหรือเว็บบอร์ดสาธารณะทั่วไปตาม[[อินเทอร์เน็ต]] ทั้งนี้เพื่อป้องกัน[[บอต]]หรือ[[โปรแกรม]]อัตโนมัติทำการส่งข้อความไม่พึงประสงค์ เช่น [[สแปม]] หรือโฆษณา เป็นต้น


== External links ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[รีแคปต์ชา]]
* [[ไมโครเพย์เมนต์]]

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.captcha.in.th/ บริการแคปต์ชาภาษาไทย]
* [http://www.captcha.in.th/ บริการแคปต์ชาภาษาไทย]
* [https://captcha.org/ เว็บไซต์ captcha.org]





รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:50, 9 กุมภาพันธ์ 2561

นี่คือแคปต์ชาของ "smwm" ที่ถูกปิดบังข้อความจากการตีความของคอมพิวเตอร์ โดยการบิดตัวอักษรและเพิ่มการไล่ระดับสีพื้นหลังเล็กน้อย
โดยปกติแล้วแคปต์ชาจะมีช่องข้อความข้างใต้ ซึ่งจะเป็นที่ที่ให้ผู้ใช้ใส่ข้อความที่พวกเขาเห็น โดยในกรณีนี้คือ "sclt ..was here"

แคปต์ชา (อังกฤษ: CAPTCHA; /kæp.ə/) คือการทดสอบเพื่อเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์แบบโต้ตอบชนิดหนึ่ง เพื่อทดสอบว่าผู้ใช้งานเป็นมนุษย์จริงหรือไม่ (ว่าไม่ใช่บอตหรือโปรแกรมอัตโนมัติ) คำว่า CAPTCHA ย่อมาจาก "Completely Automated Public Turing test to tell Computers and Humans Apart" (การทดสอบของทัวริงสาธารณะแบบอัตโนมัติเพื่อแยกแยะว่าเป็นคอมพิวเตอร์กับมนุษย์อย่างสมบูรณ์)[1]

คำนี้ได้ถูกยกย่องในปี พ.ศ. 2543 โดย ลูอิส วอน ออห์น, มานูเอล บลูม, นิโคลัส เจ. ฮอปเปอร์ และจอห์น แลงฟอร์ด[2] ซึ่งแคปต์ชาชนิดที่เราใช้ส่วนใหญ่ได้ถูกคิดค้นโดย 2 กลุ่มที่ทำงานร่วมกัน นั่นคือ (1) มาร์ก ดี. ลิลลิบริดจ์, มาร์ติน อบาดิ, คริชนา ภารัต และแอนเดร โบรเดอร์ และ (2) อิราน เรเชฟ, กิลี รอแนน, ไอลอน โซแลน[3] รูปแบบของแคปต์ชานี้ต้องการให้ผู้ใช้พิมพ์ตัวอักษรของภาพที่บิดเบี้ยว บางครั้งอาจมีการเพิ่มตัวอักษรหรือตัวเลขที่ปิดบังไว้ที่ปรากฏบนหน้าจอ เนื่องจากการทดสอบนี้ถูกบริหารจัดการโดยคอมพิวเตอร์ ซึ่งตรงข้ามกับการทดสอบทัวริงที่ใช้มนุษย์ในการบริหารจัดการ ดังนั้นแล้วในบางครั้งก็อาจมีการอธิบายแคปต์ชาไว้ว่าเป็นการทดสอบของทัวริงแบบย้อนกลับ

แคปต์ชาอาจใช้ในการตอบกลับฟอรั่มหรือเว็บบอร์ดสาธารณะทั่วไปตามอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้เพื่อป้องกันบอตหรือโปรแกรมอัตโนมัติทำการส่งข้อความไม่พึงประสงค์ เช่น สแปม หรือโฆษณา เป็นต้น

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "The reCAPTCHA Project – Carnegie Mellon University CyLab". www.cylab.cmu.edu. สืบค้นเมื่อ 2017-01-13.
  2. von Ahn, Luis; Blum, Manuel; Hopper, Nicholas J.; Langford, John (May 2003). CAPTCHA: Using Hard AI Problems for Security. EUROCRYPT 2003: International Conference on the Theory and Applications of Cryptographic Techniques.
  3. "Method and system for discriminating a human action from a computerized action". 2004-03-01. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น