ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัตต์ต่อเมตร-เคลวิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''วัตต์ต่อเมตร-เคลวิน''' ([[วัตต์|W]]·[[เมตร|m]]<sup>−1</sup>·[[เคลวิน|K]]<sup>−1</sup>) เป็น[[หน่วยเอสไอ]] สำหรับวัดค่า[[สัมประสิทธิ์การนำความร้อน]] (thermal conductivity, k) ของสสาร ได้มาจากค่า ปริมาณ[[ความร้อน]] ''Q'' ที่ถ่ายเทภายใน[[เวลา]] ''t'' ได้ในสสารที่หนา ''L'' และมีพื้นที่หน้าตัด ''A'' และ ผลต่าง[[อุณหภูมิ]]ทั้งสองด้านเป็น Δ''T'' ที่สภาวะคงตัว ดังสมการ
'''วัตต์ต่อเมตร-เคลวิน''' ([[วัตต์|W]]·[[เมตร|m]]<sup>−1</sup>·[[เคลวิน|K]]<sup>−1</sup>) เป็น[[หน่วยเอสไอ]] สำหรับวัดค่า[[สัมประสิทธิ์การนำความร้อน]] (thermal conductivity, k) ของสสาร ได้มาจากค่า ปริมาณ[[ความร้อน]] ''Q'' ที่ถ่ายเทภายใน[[เวลา]] ''t'' ได้ในสสารที่หนา ''L'' และมีพื้นที่หน้าตัด ''A'' และ ผลต่าง[[อุณหภูมิ]]ทั้งสองด้านเป็น Δ''T'' ที่สภาวะคงตัว ดังสมการ อิอิ


:: <math>k=\frac{Q}{t}\times\frac{L}{A\times\Delta T}</math>
:: <math>k=\frac{Q}{t}\times\frac{L}{A\times\Delta T}</math>
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
โดยที่หน่วยของปริมาณความร้อนเป็น[[จูล]] เวลาเป็น[[วินาที]] ความหนาเป็นเมตร พื้นที่เป็นตารางเมตร และผลต่างอุณหภูมิเป็นเคลวิน
โดยที่หน่วยของปริมาณความร้อนเป็น[[จูล]] เวลาเป็น[[วินาที]] ความหนาเป็นเมตร พื้นที่เป็นตารางเมตร และผลต่างอุณหภูมิเป็นเคลวิน


==ดูเพิ่ม==
[[การนำความร้อน]]
[[การนำความร้อน]]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:07, 13 พฤศจิกายน 2560

วัตต์ต่อเมตร-เคลวิน (W·m−1·K−1) เป็นหน่วยเอสไอ สำหรับวัดค่าสัมประสิทธิ์การนำความร้อน (thermal conductivity, k) ของสสาร ได้มาจากค่า ปริมาณความร้อน Q ที่ถ่ายเทภายในเวลา t ได้ในสสารที่หนา L และมีพื้นที่หน้าตัด A และ ผลต่างอุณหภูมิทั้งสองด้านเป็น ΔT ที่สภาวะคงตัว ดังสมการ อิอิ

โดยที่หน่วยของปริมาณความร้อนเป็นจูล เวลาเป็นวินาที ความหนาเป็นเมตร พื้นที่เป็นตารางเมตร และผลต่างอุณหภูมิเป็นเคลวิน

การนำความร้อน