ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดนตรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เปลี่นจาก "ตรีดน" เป็น "ดนตรี" นะครับ
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Claves.png|thumb|โน้ตเพลง]]
[[ไฟล์:Claves.png|thumb|โน้ตเพลง]]


ดนตรี ({{lang-en|music}}) คือ [[เสียง]]และโครงสร้างที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบียบแบบแผน ซึ่งมนุษย์ใช้ประกอบกิจกรรมศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมาในด้าน[[ระดับเสียง (ดนตรี)|ระดับเสียง]] (ซึ่งรวมถึง[[ทำนอง|ท่วงทำนอง]]และ[[เสียงประสาน]]) [[จังหวะ]] และ[[คุณภาพเสียง]] (ความต่อเนื่องของเสียง พื้นผิวของเสียง ความดังค่อย) นอกจากดนตรีจะใช้ในด้าน[[ศิลปะ]]ได้แล้ว ยังสามารถใช้ในด้าน[[สุนทรียศาสตร์]] [[การสื่อสาร]] [[ความบันเทิง]] รวมถึงใช้ในงาน[[พิธีการ]]ต่าง ๆ ได้
ดนตรี ({{lang-en|music}}) คือ [[เสียง]]และโครงสร้างที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบียบแบบแผน ซึ่งมนุษย์ใช้ประกอบกิจกรรมศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมาในด้าน[[ระดับเสียง (ดนตรี)|ระดับเสียง]] (ซึ่งรวมถึง[[ทำนอง|ท่วงทำนอง]]และ[[เสียงประสาน]]) [[จังหวะ]] และ[[คุณภาพเสียง]] (ความต่อเนื่องของเสียง พื้นผิวของเสียง ความดังค่อย) นอกจากดนตรีจะใช้ในด้าน[[ศิลปะ]]ได้แล้ว ยังสามารถใช้ในด้าน[[สุนทรียศาสตร์]] [[การสื่อสาร]] [[ความบันเทิง]] รวมถึงใช้ในงาน[[พิธีการ]]ต่าง ๆ ได้<ref>[http://guru.thaibizcenter.com/articledetail.asp?kid=7209/ ทฤษฎีดนตรี] เรียกข้อมูลวันที่ 17 มีนาคม 2554 : จาก www.guru.thaibizcenter.com</ref>

ดนตรีเป็นสิ่งที่ธรรมชาติให้มาพร้อม ๆ กับชีวิตมนุษย์โดยที่มนุษย์เองไม่รู้ตัว ดนตรีเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์อย่างหนึ่งที่ช่วยให้มนุษย์มีความสุข สนุกสนานรื่นเริง ช่วยผ่อนคลายความเครียดทั้งทางตรงและทางอ้อม ดนตรีเป็นเครื่องกล่อมเกลาจิตใจของมนุษย์ให้มีความเบิกบานหรรษาให้เกิดความสงบและพักผ่อน กล่าวคือในการดำรงชีพของมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตายดนตรีมีความเกี่ยวข้องอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อาจสืบเนื่องมาจากความบันเทิงในรูปแบบต่าง ๆ โดยตรงหรืออาจเกิดจากขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ เช่น เพลงกล่อมเด็ก เพลงประกอบในการทำงาน เพลงที่เกี่ยวข้องในงานพิธีการ เพลงสวดถึงพระผู้เป็นเจ้า เป็นต้น

== ประโยชน์ของเสียงดนตรี ==
* พัฒนาความคิดสร้างสรรค์
* พัฒนาด้านอารมณ์
* พัฒนาด้านภาษา
* พัฒนาด้านร่างกาย
* พัฒนาด้านปัญญา
* พัฒนาด้านความเป็นเอกบุคคล
* พัฒนาด้านสุนทรีย์
* พัฒนาสมองให้มีความคิดที่ดี


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}ไรนิ
{{รายการอ้างอิง}}


== หนังสืออ่านเพิ่ม ==
== หนังสืออ่านเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:26, 13 กรกฎาคม 2560

โน้ตเพลง

ดนตรี (อังกฤษ: music) คือ เสียงและโครงสร้างที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบียบแบบแผน ซึ่งมนุษย์ใช้ประกอบกิจกรรมศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมาในด้านระดับเสียง (ซึ่งรวมถึงท่วงทำนองและเสียงประสาน) จังหวะ และคุณภาพเสียง (ความต่อเนื่องของเสียง พื้นผิวของเสียง ความดังค่อย) นอกจากดนตรีจะใช้ในด้านศิลปะได้แล้ว ยังสามารถใช้ในด้านสุนทรียศาสตร์ การสื่อสาร ความบันเทิง รวมถึงใช้ในงานพิธีการต่าง ๆ ได้[1]

อ้างอิง

  1. ทฤษฎีดนตรี เรียกข้อมูลวันที่ 17 มีนาคม 2554 : จาก www.guru.thaibizcenter.com

หนังสืออ่านเพิ่ม

  • Colles, Henry Cope (1978). The Growth of Music : A Study in Musical History, 4th ed., London ; New York : Oxford University Press. ISBN 0-19-316116-8 (1913 edition online at Google Books)
  • Harwood, Dane (1976). "Universals in Music: A Perspective from Cognitive Psychology". Ethnomusicology. 20 (3): 521–33. doi:10.2307/851047.
  • Small, Christopher (1977). Music, Society, Education. John Calder Publishers, London. ISBN 0-7145-3614-8