ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จิวเวอร์รี่ เทรด เซ็นเตอร์"

พิกัด: 13°44′21″N 100°32′58″E / 13.73917°N 100.54944°E / 13.73917; 100.54944
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Peng ncc (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{กล่องข้อมูล ตึกระฟ้า | building_name = จิวเวอร์รี่ เทรด เซ็นเตอร์<br><small>Jewe...
 
Peng ncc (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
| image = [[ไฟล์:Jewelry Trade Center.jpg|250px]]
| image = [[ไฟล์:Jewelry Trade Center.jpg|250px]]
| caption = จิวเวอร์รี่ เทรด เซ็นเตอร์ที่ด้านซ้ายของภาพ
| caption = จิวเวอร์รี่ เทรด เซ็นเตอร์ที่ด้านซ้ายของภาพ
| tallest_building = ใช่
| tallest_building =
| year_highest =
| year_highest =
| year_end =
| year_end =
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
}}
}}


'''จิวเวอร์รี่ เทรด เซ็นเตอร์''' ({{lang-en|Jewelry Trade Center}}) คือ[[ตึกระฟ้า]]สูง 59 ชั้น ตั้งอยู่ในเขตอัญมณีของ[[ถนนสีลม]] [[กรุงเทพมหานคร]] ออกแบบโดย [[:en:HOK (firm)|HOK]] สร้างเสร็จสมบูรณ์ใน พ.ศ. 2539 ในปัจจุบันเป็นตึกที่สูงที่สุดอันดับ 9 ของประเทศไทย และเคยเป็นอาคารที่สูงที่สุดในไทยเมื่อสร้างเสร็จในขณะนั้น
'''จิวเวอร์รี่ เทรด เซ็นเตอร์''' ({{lang-en|Jewelry Trade Center}}) คือ[[ตึกระฟ้า]]สูง 59 ชั้น ตั้งอยู่ในเขตอัญมณีของ[[ถนนสีลม]] [[กรุงเทพมหานคร]] ออกแบบโดย [[:en:HOK (firm)|HOK]] สร้างเสร็จสมบูรณ์ใน พ.ศ. 2539 ในปัจจุบันเป็นตึกที่สูงที่สุดอันดับ 9 ของประเทศไทย และเคยเป็นอาคารที่สูงที่สุดในไทยเมื่อสร้างเสร็จในขณะนั้น (พ.ศ. 2539-2540)


จิวเวอร์รี่ เทรด เซ็นเตอร์ คือศูนย์กลางการขาย การให้ข้อมูล และการจัดจำหน่ายที่ใหญ่ที่สุดในกรุงเทพมหานคร และหนึ่งในศูนย์กลางที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย อาคารประกอบด้วยห้องทดลอง[[อัญมณี]]ที่ครบครัน ดำเนินการโดยสถาบันอัญมณีศาสตร์แห่งเอเชีย (Asian Institute of Gemological Sciences : AIGS) ห้องแสดงอัญมณีสีลมตั้งอยู่บริเวณลานชั้นล่างของอาคาร ซึ่งเป็นพื้นที่จัดจำหน่ายงานศิลปะ ของโบราณ และอัญมณี ภายในอาคารยังมีธนาคาร ร้านอาหาร ชมรมสุขภาพ ร้านทำผม ไปรษณีย์ ศูนย์บริการศุลกากร และ[[คอนโดมิเนียม]]พักอาศัย<ref>[http://web.archive.org/web/20091026152137/http://geocities.com/topsyturvy_6051/jtc.html The 20 Tallest Buildings in Bangkok] archive.org</ref>
จิวเวอร์รี่ เทรด เซ็นเตอร์ คือศูนย์กลางการขาย การให้ข้อมูล และการจัดจำหน่ายที่ใหญ่ที่สุดในกรุงเทพมหานคร และหนึ่งในศูนย์กลางที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย อาคารประกอบด้วยห้องทดลอง[[อัญมณี]]ที่ครบครัน ดำเนินการโดยสถาบันอัญมณีศาสตร์แห่งเอเชีย (Asian Institute of Gemological Sciences : AIGS) ห้องแสดงอัญมณีสีลมตั้งอยู่บริเวณลานชั้นล่างของอาคาร ซึ่งเป็นพื้นที่จัดจำหน่ายงานศิลปะ ของโบราณ และอัญมณี ภายในอาคารยังมีธนาคาร ร้านอาหาร ชมรมสุขภาพ ร้านทำผม ไปรษณีย์ ศูนย์บริการศุลกากร และ[[คอนโดมิเนียม]]พักอาศัย<ref>[http://web.archive.org/web/20091026152137/http://geocities.com/topsyturvy_6051/jtc.html The 20 Tallest Buildings in Bangkok] archive.org</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:40, 13 มิถุนายน 2557

จิวเวอร์รี่ เทรด เซ็นเตอร์
Jewelry Trade Center
จิวเวอร์รี่ เทรด เซ็นเตอร์ที่ด้านซ้ายของภาพ
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้ง919/1 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
ไทย ประเทศไทย
พิกัด13°44′21″N 100°32′58″E / 13.73917°N 100.54944°E / 13.73917; 100.54944
ก่อสร้างพ.ศ. 2538
เปิดตัวพ.ศ. 2539
ความสูง
หลังคา220.7 เมตร (724 ฟุต)
รายละเอียด
จำนวนชั้น58 ชั้น
พื้นที่ชั้น150,013 ตารางเมตร
(1,614,744 ตารางฟุต)
มูลค่า14,000 ล้านบาท (322 ดอลล่าร์สหรัฐ)
บริษัท
สถาปนิกHOK
อ้างอิง: [1]

จิวเวอร์รี่ เทรด เซ็นเตอร์ (อังกฤษ: Jewelry Trade Center) คือตึกระฟ้าสูง 59 ชั้น ตั้งอยู่ในเขตอัญมณีของถนนสีลม กรุงเทพมหานคร ออกแบบโดย HOK สร้างเสร็จสมบูรณ์ใน พ.ศ. 2539 ในปัจจุบันเป็นตึกที่สูงที่สุดอันดับ 9 ของประเทศไทย และเคยเป็นอาคารที่สูงที่สุดในไทยเมื่อสร้างเสร็จในขณะนั้น (พ.ศ. 2539-2540)

จิวเวอร์รี่ เทรด เซ็นเตอร์ คือศูนย์กลางการขาย การให้ข้อมูล และการจัดจำหน่ายที่ใหญ่ที่สุดในกรุงเทพมหานคร และหนึ่งในศูนย์กลางที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย อาคารประกอบด้วยห้องทดลองอัญมณีที่ครบครัน ดำเนินการโดยสถาบันอัญมณีศาสตร์แห่งเอเชีย (Asian Institute of Gemological Sciences : AIGS) ห้องแสดงอัญมณีสีลมตั้งอยู่บริเวณลานชั้นล่างของอาคาร ซึ่งเป็นพื้นที่จัดจำหน่ายงานศิลปะ ของโบราณ และอัญมณี ภายในอาคารยังมีธนาคาร ร้านอาหาร ชมรมสุขภาพ ร้านทำผม ไปรษณีย์ ศูนย์บริการศุลกากร และคอนโดมิเนียมพักอาศัย[2]

อาคารถูกสร้างบนพื้นที่ 9.5 ไร่ หรือประมาณ 4.5 เอเคอร์ (18,000 ตารางเมตร) หุ้นส่วนในโครงการนี้คือเฮนรี่ โฮ (Bijoux Holdings) สัมฤทธิ์ จิราธิวัฒน์ (CEO คนก่อนของกลุ่มเซ็นทรัล ต่อมาคือวันชัย จิราธิวัฒน์) และวิชัย มาลีนนท์ (ผู้บริหารบางกอกเอ็นเตอร์เทนเมนต์ของไทยทีวีสีช่อง 3) และชาตรี โสภณพนิช (CEO ของธนาคารกรุงเทพ)[3]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง