ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การตกในบาป"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
DanMTaylor (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยน อีฟ เป็น เอวา
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width = 240px}}
{{ใช้ปีคศ|width = 240px}}
[[ไฟล์:Domenichino_adam_eve.jpg|thumb|240px|right|อาดัมและอีฟถูกขับจาก[[สวนอีเด็น]]โดยพระเจ้าหลังจากกระทำ[[บาปกำเนิด]] โดย [[โดเม็นนิชิโน]] ]]
[[ไฟล์:Domenichino_adam_eve.jpg|thumb|240px|right|อาดัมและเอวาถูกขับจาก[[สวนอีเด็น]]โดยพระเจ้าหลังจากกระทำ[[บาปกำเนิด]] โดย [[โดเม็นนิชิโน]] ]]
'''การตกในบาป'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 209</ref> ({{lang-en|'''Fall of Man''' หรือ '''the Fall'''}}) หมายถึงการเปลื่ยนแปลงเป็นครั้งแรกของมนุษย์จากสภาวะของความบริสุทธิ์ที่เชื่อฟัง[[พระเจ้า]]ไปเป็นสภาวะของความรู้สึกผิดเพราะความไม่เชื่อฟังในพระเจ้า ใน[[บาปกำเนิด]] ใน[[ศาสนาคริสต์]], มนุษย์คนแรก[[อาดัม]]และ[[อีฟ]]เมื่อแรกเริ่มอาศัยอยู่กับพระเจ้าภายในสวรรค์ แต่มาถูกล่อลวงโดยงูให้กินผลไม้จาก “[[ต้นไม้แห่งความรู้ดีรู้ชั่ว]]” (Tree of Knowledge of Good and Evil) ซึ่งพระเจ้าทรงสั่งห้ามไว้ว่าไม่ให้แตะต้อง หลังจากที่กินเข้าไปแล้วก็เกิดความละอายในความเปลือยเปล่าของร่างกาย และในที่สุดก็ถูกการตกในบาปโดยพระเจ้า การถูกการตกในบาปมิได้กล่าวถึงโดยตรงใน[[คัมภีร์ไบเบิล]] แต่กล่างถึงทั้งเรื่องของความไม่เชื่อฟังและการถูกขับ
'''การตกในบาป'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 209</ref> ({{lang-en|'''Fall of Man''' หรือ '''the Fall'''}}) หมายถึงการเปลื่ยนแปลงเป็นครั้งแรกของมนุษย์จากสภาวะของความบริสุทธิ์ที่เชื่อฟัง[[พระเจ้า]]ไปเป็นสภาวะของความรู้สึกผิดเพราะความไม่เชื่อฟังในพระเจ้า ใน[[บาปกำเนิด]] ใน[[ศาสนาคริสต์]], มนุษย์คนแรก[[อาดัม]]และ[[เอวา]]เมื่อแรกเริ่มอาศัยอยู่กับพระเจ้าภายในสวรรค์ แต่มาถูกล่อลวงโดยงูให้กินผลไม้จาก “[[ต้นไม้แห่งความรู้ดีรู้ชั่ว]]” (Tree of Knowledge of Good and Evil) ซึ่งพระเจ้าทรงสั่งห้ามไว้ว่าไม่ให้แตะต้อง หลังจากที่กินเข้าไปแล้วก็เกิดความละอายในความเปลือยเปล่าของร่างกาย และในที่สุดก็ถูกการตกในบาปโดยพระเจ้า การถูกการตกในบาปมิได้กล่าวถึงโดยตรงใน[[คัมภีร์ไบเบิล]] แต่กล่างถึงทั้งเรื่องของความไม่เชื่อฟังและการถูกขับ


ในศาสนาอื่นเช่น[[ศาสนายูดาย]], [[ศาสนาอิสลาม]] หรือ [[ไญยนิยม]] (Gnosticism) ตีความหมายของการถูกการตกในบาปต่างกันไป
ในศาสนาอื่นเช่น[[ศาสนายูดาย]], [[ศาสนาอิสลาม]] หรือ [[ไญยนิยม]] (Gnosticism) ตีความหมายของการถูกการตกในบาปต่างกันไป


ใน[[เทววิทยาคริสเตียน]], “การถูกขับจากสวรรค์” มีความหมายที่กว้างหมายถึงมวลมนุษย์ผู้มาจาก[[บาป]]ของอาดัมและอีฟที่เรียกว่า “[[บาปกำเนิด]]” (original sin) เช่นในคำสอนของ[[นักบุญพอลแห่งทาซัส]]ที่บันทึกไว้ใน {{อิงไบเบิล|romans|โรม|5|12|19}} และ {{อิงไบเบิล|1_corinthians|1 โครินธ์|15|21|22}} ผู้นับถือศาสนาคริสต์บางคนเชื่อว่า “การถูกขับจากสวรรค์” เป็นการทำความเสียหายให้แก่ธรรมชาติของโลกทั้งหมดโดยเฉพาะธรรมชาติของมนุษย์ ทำให้มนุษย์เกิดมาพร้อมกับบาปกำเนิด ซึ่งเป็นสภาวะที่ไม่ทำให้สามารถมีชีวิตชั่วนิรันดรโดยไม่ต้องให้พระเจ้าเข้ามาช่วย ผู้นับถือ[[นิกายโปรเตสแตนต์]]เชื่อว่าความตายของ[[พระเยซู]]เป็น “ค่าไถ่” ซึ่งทำให้มนุษย์ปราศจาก “บาปกำเนิด” ที่เกิดจาก “การถูกขับจากสวรรค์” ตลอดไป นิกายอื่นๆ เชื่อว่า “การถูกขับจากสวรรค์” ทำให้มนุษย์มีอิสระจากบาปโดยมิต้องหาทางแก้บาปอีก
ใน[[เทววิทยาคริสเตียน]], “การถูกขับจากสวรรค์” มีความหมายที่กว้างหมายถึงมวลมนุษย์ผู้มาจาก[[บาป]]ของอาดัมและเอวาที่เรียกว่า “[[บาปกำเนิด]]” (original sin) เช่นในคำสอนของ[[นักบุญพอลแห่งทาซัส]]ที่บันทึกไว้ใน {{อิงไบเบิล|romans|โรม|5|12|19}} และ {{อิงไบเบิล|1_corinthians|1 โครินธ์|15|21|22}} ผู้นับถือศาสนาคริสต์บางคนเชื่อว่า “การถูกขับจากสวรรค์” เป็นการทำความเสียหายให้แก่ธรรมชาติของโลกทั้งหมดโดยเฉพาะธรรมชาติของมนุษย์ ทำให้มนุษย์เกิดมาพร้อมกับบาปกำเนิด ซึ่งเป็นสภาวะที่ไม่ทำให้สามารถมีชีวิตชั่วนิรันดรโดยไม่ต้องให้พระเจ้าเข้ามาช่วย ผู้นับถือ[[นิกายโปรเตสแตนต์]]เชื่อว่าความตายของ[[พระเยซู]]เป็น “ค่าไถ่” ซึ่งทำให้มนุษย์ปราศจาก “บาปกำเนิด” ที่เกิดจาก “การถูกขับจากสวรรค์” ตลอดไป นิกายอื่นๆ เชื่อว่า “การถูกขับจากสวรรค์” ทำให้มนุษย์มีอิสระจากบาปโดยมิต้องหาทางแก้บาปอีก


คำว่า “ปราศจากบาป” (prelapsarian) หมายถึง สภาวะที่เป็นอิสระจากความมีบาปก่อน “การถูกขับจากสวรรค์” หรือบางครั้งก็เป็นคำที่ใช้ในการรำลึกถึงเวลาในอดีตที่แตกต่างไปจากปัจจุบัน หรือสถานะการณ์ที่เรียกว่า “คำนึงถึงความหลัง” (nostalgia)
คำว่า “ปราศจากบาป” (prelapsarian) หมายถึง สภาวะที่เป็นอิสระจากความมีบาปก่อน “การถูกขับจากสวรรค์” หรือบางครั้งก็เป็นคำที่ใช้ในการรำลึกถึงเวลาในอดีตที่แตกต่างไปจากปัจจุบัน หรือสถานะการณ์ที่เรียกว่า “คำนึงถึงความหลัง” (nostalgia)


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
[[ไฟล์:France Paris Notre-Dame-Adam and Eve.jpg|240px|thumb|right|“[[อาดัม]], [[อีฟ]] และ[[งู]] (ซึ่งอาจจะเป็น ลิลิธ) ใน[[สวนอีเด็น]]” ตรงทางเข้า[[มหาวิหารโนเทรอดามแห่งปารีส]]]]
[[ไฟล์:France Paris Notre-Dame-Adam and Eve.jpg|240px|thumb|right|“[[อาดัม]], [[เอวา]] และ[[งู]] (ซึ่งอาจจะเป็น ลิลิธ) ใน[[สวนอีเด็น]]” ตรงทางเข้า[[มหาวิหารโนเทรอดามแห่งปารีส]]]]


{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
* [[บาปกำเนิด]]
* [[บาปกำเนิด]]
* [[อาดัม]]
* [[อาดัม]]
* [[อีฟ]]
* [[เอวา]]


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:49, 28 พฤษภาคม 2557

อาดัมและเอวาถูกขับจากสวนอีเด็นโดยพระเจ้าหลังจากกระทำบาปกำเนิด โดย โดเม็นนิชิโน

การตกในบาป[1] (อังกฤษ: Fall of Man หรือ the Fall) หมายถึงการเปลื่ยนแปลงเป็นครั้งแรกของมนุษย์จากสภาวะของความบริสุทธิ์ที่เชื่อฟังพระเจ้าไปเป็นสภาวะของความรู้สึกผิดเพราะความไม่เชื่อฟังในพระเจ้า ในบาปกำเนิด ในศาสนาคริสต์, มนุษย์คนแรกอาดัมและเอวาเมื่อแรกเริ่มอาศัยอยู่กับพระเจ้าภายในสวรรค์ แต่มาถูกล่อลวงโดยงูให้กินผลไม้จาก “ต้นไม้แห่งความรู้ดีรู้ชั่ว” (Tree of Knowledge of Good and Evil) ซึ่งพระเจ้าทรงสั่งห้ามไว้ว่าไม่ให้แตะต้อง หลังจากที่กินเข้าไปแล้วก็เกิดความละอายในความเปลือยเปล่าของร่างกาย และในที่สุดก็ถูกการตกในบาปโดยพระเจ้า การถูกการตกในบาปมิได้กล่าวถึงโดยตรงในคัมภีร์ไบเบิล แต่กล่างถึงทั้งเรื่องของความไม่เชื่อฟังและการถูกขับ

ในศาสนาอื่นเช่นศาสนายูดาย, ศาสนาอิสลาม หรือ ไญยนิยม (Gnosticism) ตีความหมายของการถูกการตกในบาปต่างกันไป

ในเทววิทยาคริสเตียน, “การถูกขับจากสวรรค์” มีความหมายที่กว้างหมายถึงมวลมนุษย์ผู้มาจากบาปของอาดัมและเอวาที่เรียกว่า “บาปกำเนิด” (original sin) เช่นในคำสอนของนักบุญพอลแห่งทาซัสที่บันทึกไว้ใน โรม 5:12 -19 และ โครินธ์ 1 โครินธ์ 15:21 -22 ผู้นับถือศาสนาคริสต์บางคนเชื่อว่า “การถูกขับจากสวรรค์” เป็นการทำความเสียหายให้แก่ธรรมชาติของโลกทั้งหมดโดยเฉพาะธรรมชาติของมนุษย์ ทำให้มนุษย์เกิดมาพร้อมกับบาปกำเนิด ซึ่งเป็นสภาวะที่ไม่ทำให้สามารถมีชีวิตชั่วนิรันดรโดยไม่ต้องให้พระเจ้าเข้ามาช่วย ผู้นับถือนิกายโปรเตสแตนต์เชื่อว่าความตายของพระเยซูเป็น “ค่าไถ่” ซึ่งทำให้มนุษย์ปราศจาก “บาปกำเนิด” ที่เกิดจาก “การถูกขับจากสวรรค์” ตลอดไป นิกายอื่นๆ เชื่อว่า “การถูกขับจากสวรรค์” ทำให้มนุษย์มีอิสระจากบาปโดยมิต้องหาทางแก้บาปอีก

คำว่า “ปราศจากบาป” (prelapsarian) หมายถึง สภาวะที่เป็นอิสระจากความมีบาปก่อน “การถูกขับจากสวรรค์” หรือบางครั้งก็เป็นคำที่ใช้ในการรำลึกถึงเวลาในอดีตที่แตกต่างไปจากปัจจุบัน หรือสถานะการณ์ที่เรียกว่า “คำนึงถึงความหลัง” (nostalgia)

อ้างอิง

อาดัม, เอวา และงู (ซึ่งอาจจะเป็น ลิลิธ) ในสวนอีเด็น” ตรงทางเข้ามหาวิหารโนเทรอดามแห่งปารีส
  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 209

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ การตกในบาป