ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มิวสิกวิดีโอ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 56: บรรทัด 56:
[[หมวดหมู่:มิวสิกวิดีโอ| ]]
[[หมวดหมู่:มิวสิกวิดีโอ| ]]
{{โครงดนตรี}}
{{โครงดนตรี}}

[[ar:أغنية مصورة]]
[[ca:Videoclip]]
[[cs:Videoklip]]
[[da:Musikvideo]]
[[de:Musikvideo]]
[[en:Music video]]
[[es:Video musical]]
[[fa:نماهنگ]]
[[fi:Musiikkivideo]]
[[fr:Clip]]
[[gl:Videoclip]]
[[he:וידאו קליפ]]
[[hr:Glazbeni video spot]]
[[hu:Videoklip]]
[[ia:Video musical]]
[[id:Video musik]]
[[is:Tónlistarmyndband]]
[[it:Videoclip]]
[[ja:ミュージック・ビデオ]]
[[ka:მუსიკალური ვიდეო]]
[[ko:뮤직 비디오]]
[[mk:Музичко видео]]
[[nl:Videoclip]]
[[no:Musikkvideo]]
[[pl:Teledysk]]
[[pt:Videoclipe]]
[[ru:Музыкальный видеоклип]]
[[sh:Muzički spot]]
[[simple:Music video]]
[[sk:Videoklip]]
[[sq:Video copa]]
[[sr:Muzički spot]]
[[sv:Musikvideo]]
[[sw:Muziki wa video]]
[[tr:Video klip]]
[[yi:ווידעא קליפ]]
[[zh:音樂影片]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:30, 9 มีนาคม 2556

มิวสิกวิดีโอ (อังกฤษ: Music video) หรือเรียกสั้นๆว่า เอ็มวี (MV) เป็นการถ่ายทอดบทเพลงแบบมีภาพประกอบ โดยยุคแรกๆ มิวสิกวิดีโอ นำมาใช้ในการเผยแพร่เพลงทางโทรทัศน์ ซึ่งมักเป็นรูปแบบการถ่ายภาพวงดนดรีหรือนักร้องที่ร้องเพลง ต่อมามีนำภาพมาประกอบเพลง และพัฒนามาเป็นการการนำเนื้อหาของบทเพลงมาสร้างเป็นเรื่องราว เป็นละครประกอบเพลง พอมาถึงยุคที่คาราโอเกะเป็นที่นิยม มิวสิกวิดีโอ ก็นำมาซ้อนกับเนื้อเพลง ทำเป็น วิดีโอคาราโอเกะ และผลิตเป็นสื่อ วีซีดีคาราโอเกะ

ปัจจุบัน มีการให้รางวัลศิลปิน จากการประกวดมิวสิกวิดีโออีกด้วย เช่น งานเอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิก อวอร์ดส

แนวการนำเสนอ

มิวสิกวิดีโอถูกนำเสนอในหลายแนว เช่น

  • ภาพการแสดงสด
  • ละครเพลง ซึ่งแสดงเนื้อหาของบทเพลง
  • การร้องและเต้นประกอบเพลง ในรูปแบบต่างๆ
  • การใช่วิวทิวทัศน์ มาประกอบซึ่งไม่เกี่ยวกับบทเพลง
  • การใช้ผู้หญิงนุ่งน้อยห่มน้อยเดินผ่านหน้ากล้อง ส่วนใหญ่จะเป็นมิวสิกวิดีโอเพลงต่างประเทศที่คนไทยนำมารวมลงซีดี แต่ทุนต่ำและติดปัญหาลิขสิทธิ์ จึงใช้ภาพเหล่านี้แทน

สถานีมิวสิกวิดีโอในประเทศไทย

รายการมิวสิกวิดีโอในประเทศไทย

  • MTV Thailand Hitlist (เอ็มทีวี)
  • รายการ I Am Siam (แชนเนลวี ไทยแลนด์)
  • Fresh Break Thai (ทรู มิวสิก)
  • Five Live (ช่อง 5)
  • Seed TV (ช่อง 9)
  • I Love MV (ช่อง 9)
  • Music Time Out (TTV 2)
  • Asian Countdown (ช่อง 5)
  • 2 Nite Live (ช่อง 5)
  • E-Mouth (ช่อง 7)
  • OIC (ช่อง 5)

งานแจกรางวัล มิวสิกวิดีโอ

มิวสิกวิดีโอเพลงแรกในประเทศไทย

สำหรับในประเทศไทย เพลงแรกที่มีการสร้างมิวสิกวิดีโอคือ ไปทะเลกันดีกว่า ของ ปานศักดิ์ รังสิพราหมณกุล ในปี พ.ศ. 2527[1]


อ้างอิง

  1. รายการวิกสยาม ทางทีวีไทย : 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2552

แหล่งข้อมูลอื่น