ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยานพาหนะแก๊สธรรมชาติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sasakubo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Sasakubo (คุย | ส่วนร่วม)
สถิติ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
{{สั้นมาก}}
[[ไฟล์:2009 Honda Civic NGV--DC.jpg|200px|right|รถยนต์ฮอนด้าซิวิครุ่นปี 2009 ใช้เชื้อเพลิงทางเลือก]]
[[ไฟล์:2009 Honda Civic NGV--DC.jpg|200px|right|รถยนต์ฮอนด้าซิวิครุ่นปี 2009 ใช้เชื้อเพลิงทางเลือก]]
'''ยานพาหนะแก๊สธรรมชาติ''' หรือ '''เอ็นจีวี''' ({{lang-en|Natural gas Vehicle, NGV}}) เป็นยานพาหนะใช้เชื้อเพลิงทางเลือก เช่น [[แก๊สธรรมชาติอัด|แก๊สธรรมชาติอัด หรือ CNG]] [[แก๊สธรรมชาติเหลว]] ซึ่งเป็นพลังงานสะอาดเพื่อลดปัญหาทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการใช้เชื้อเพลิง[[ซากดึกดำบรรพ์]] ในปี [[พ.ศ. 2553]] มียานพาหนะที่ใช้แก๊สธรรมชาติทั่วโลกประมาณ 12.7 ล้านคัน <ref>[http://www.iangv.org/tools-resources/statistics.html Natural Gas Vehicle Statistics]{{en}}</ref> ยานพาหนะที่ใช้แก๊สธรรมชาติสามารถใช้ได้ตั้งแต่รถขนาดเล็กไปถึงขนาดใหญ่<ref name="pttweb">[http://pttweb2.pttplc.com/webngv/kw_sp.aspx ระบบการติดตั้ง NGV]</ref>
'''ยานพาหนะแก๊สธรรมชาติ''' หรือ '''เอ็นจีวี''' ({{lang-en|Natural gas Vehicle, NGV}}) เป็นยานพาหนะใช้เชื้อเพลิงทางเลือก เช่น [[แก๊สธรรมชาติอัด|แก๊สธรรมชาติอัด หรือ CNG]] [[แก๊สธรรมชาติเหลว]] ซึ่งเป็นพลังงานสะอาดเพื่อลดปัญหาทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการใช้เชื้อเพลิง[[ซากดึกดำบรรพ์]] ในปี [[พ.ศ. 2553]] มียานพาหนะที่ใช้แก๊สธรรมชาติทั่วโลกประมาณ 12.7 ล้านคัน <ref name="iangv">[http://www.iangv.org/tools-resources/statistics.html Natural Gas Vehicle Statistics]{{en}}</ref> ยานพาหนะที่ใช้แก๊สธรรมชาติสามารถใช้ได้ตั้งแต่รถขนาดเล็กไปถึงขนาดใหญ่<ref name="pttweb">[http://pttweb2.pttplc.com/webngv/kw_sp.aspx ระบบการติดตั้ง NGV]</ref>

== จำนวนการใช้ทั่วโลก ==
จากการสำรวจในปี พ.ศ. 2553 พบว่า ประเทศปากีสถาน, อิหร่าน, อาร์เจนติน่า, บราซิล และ อินเดีย มียานพาหนะที่ใช้แก๊สธรรมชาติอัดมากเป็นอันดับต้นๆของโลก
{| style="float:left;" class="wikitable"
! colspan=2| '''Ten countries with most CNG vehicles-2011'''<br><small>(millions)</small>
|-
| {{PAK}} || style="text-align:right;"| 2.74
|-
| {{IRN}}|| style="text-align:right;"| 2.60
|-
| {{ARG}}|| style="text-align:right;"| 1.90
|-
| {{BRA}} || style="text-align:right;"| 1.66
|-
| {{IND}} || style="text-align:right;"| 1.08
|-
| {{ITA}} || style="text-align:right;"| 0.73
|-
| {{PRC}} || style="text-align:right;"| 0.45
|-
| {{COL}} || style="text-align:right;"| 0.34
|-
| {{THA}} || style="text-align:right;"| 0.21
|-
| {{UKR}} || style="text-align:right;"| 0.20
|-
| '''Total''' || style="text-align:right;"| 12.67
|-
|colspan=2 style="font-size:90%;"|''ที่มา:<ref name= iangv/>
|}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:07, 21 เมษายน 2555

รถยนต์ฮอนด้าซิวิครุ่นปี 2009 ใช้เชื้อเพลิงทางเลือก
รถยนต์ฮอนด้าซิวิครุ่นปี 2009 ใช้เชื้อเพลิงทางเลือก

ยานพาหนะแก๊สธรรมชาติ หรือ เอ็นจีวี (อังกฤษ: Natural gas Vehicle, NGV) เป็นยานพาหนะใช้เชื้อเพลิงทางเลือก เช่น แก๊สธรรมชาติอัด หรือ CNG แก๊สธรรมชาติเหลว ซึ่งเป็นพลังงานสะอาดเพื่อลดปัญหาทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการใช้เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ ในปี พ.ศ. 2553 มียานพาหนะที่ใช้แก๊สธรรมชาติทั่วโลกประมาณ 12.7 ล้านคัน [1] ยานพาหนะที่ใช้แก๊สธรรมชาติสามารถใช้ได้ตั้งแต่รถขนาดเล็กไปถึงขนาดใหญ่[2]

จำนวนการใช้ทั่วโลก

จากการสำรวจในปี พ.ศ. 2553 พบว่า ประเทศปากีสถาน, อิหร่าน, อาร์เจนติน่า, บราซิล และ อินเดีย มียานพาหนะที่ใช้แก๊สธรรมชาติอัดมากเป็นอันดับต้นๆของโลก

Ten countries with most CNG vehicles-2011
(millions)
ธงของประเทศปากีสถาน ปากีสถาน 2.74
ธงของประเทศอิหร่าน อิหร่าน 2.60
ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 1.90
ธงของประเทศบราซิล บราซิล 1.66
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย 1.08
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี 0.73
 สาธารณรัฐประชาชนจีน 0.45
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย 0.34
 ไทย 0.21
ธงของประเทศยูเครน ยูเครน 0.20
Total 12.67
ที่มา:[1]

อ้างอิง