ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรมอญ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
+ มอญโบราณ
Saerin (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสคริปต์จัดให้
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


อักษรมอญโบราณพัฒนามาจากอักษรยุคหลังปัลลวะ (พุทธศตวรรษ 13-15) พบจารึกอักษรนี้ในเขตหริภุญชัย เช่นที่ [[เวียงมโน]] [[เวียงเถาะ]] รูปแบบของอักษรมอญต่างจาก[[อักษรขอม]]ที่พัฒนาจากอักษรในอินเดียใต้รุ่นเดียวกันคือ อักษรมอญตัดบ่าอักษรออกไป ทำให้รูปอักษรค่อนข้างกลม ส่วนอักษรขอมเปลี่ยนบ่าอักษรเป็นศกหรือหนามเตย
อักษรมอญโบราณพัฒนามาจากอักษรยุคหลังปัลลวะ (พุทธศตวรรษ 13-15) พบจารึกอักษรนี้ในเขตหริภุญชัย เช่นที่ [[เวียงมโน]] [[เวียงเถาะ]] รูปแบบของอักษรมอญต่างจาก[[อักษรขอม]]ที่พัฒนาจากอักษรในอินเดียใต้รุ่นเดียวกันคือ อักษรมอญตัดบ่าอักษรออกไป ทำให้รูปอักษรค่อนข้างกลม ส่วนอักษรขอมเปลี่ยนบ่าอักษรเป็นศกหรือหนามเตย
==ลักษณะ==
== ลักษณะ ==
พยัญชนะแบ่งเป็น 2 ชุดคือ พยัญชนะเสียงไม่ก้อง (อโฆษะ เสียงขุ่น) พื้นเสียงเป็นอะ พยัญชนะเสียงก้อง (โฆษะ เสียงใส) พื้นเสียงเป็นเอียะ เมื่อประสมสระ พยัญชนะต่างชุดกันออกเสียงต่างกัน มีรูปพยัญชนะซ้อน เมื่อเป็นตัวควบกล้ำ
พยัญชนะแบ่งเป็น 2 ชุดคือ พยัญชนะเสียงไม่ก้อง (อโฆษะ เสียงขุ่น) พื้นเสียงเป็นอะ พยัญชนะเสียงก้อง (โฆษะ เสียงใส) พื้นเสียงเป็นเอียะ เมื่อประสมสระ พยัญชนะต่างชุดกันออกเสียงต่างกัน มีรูปพยัญชนะซ้อน เมื่อเป็นตัวควบกล้ำ
==ใช้เขียน==
== ใช้เขียน ==
* [[ภาษามอญ]]
* [[ภาษามอญ]]
==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
* พจนานุกรมมอญ-ไทย ฉบับมอญสยาม. ศิลปวัฒนธรรม. 2548
* พจนานุกรมมอญ-ไทย ฉบับมอญสยาม. ศิลปวัฒนธรรม. 2548
* สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทย มาจากไหน. มติชน. 2548
* สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทย มาจากไหน. มติชน. 2548

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:33, 4 กุมภาพันธ์ 2550

อักษรมอญ พัฒนามาจากอักษรพราหมี ผ่านทางอักษรปัลลวะ และเป็นแม่แบบของอักษรอื่น เช่น อักษรพม่า อักษรไทย อักษรลาว อักษรล้านนา อักษรไทลื้อ อักษรธรรมที่ใช้เขียนคัมภีร์ในล้านนาและล้านช้าง

อักษรมอญโบราณพัฒนามาจากอักษรยุคหลังปัลลวะ (พุทธศตวรรษ 13-15) พบจารึกอักษรนี้ในเขตหริภุญชัย เช่นที่ เวียงมโน เวียงเถาะ รูปแบบของอักษรมอญต่างจากอักษรขอมที่พัฒนาจากอักษรในอินเดียใต้รุ่นเดียวกันคือ อักษรมอญตัดบ่าอักษรออกไป ทำให้รูปอักษรค่อนข้างกลม ส่วนอักษรขอมเปลี่ยนบ่าอักษรเป็นศกหรือหนามเตย

ลักษณะ

พยัญชนะแบ่งเป็น 2 ชุดคือ พยัญชนะเสียงไม่ก้อง (อโฆษะ เสียงขุ่น) พื้นเสียงเป็นอะ พยัญชนะเสียงก้อง (โฆษะ เสียงใส) พื้นเสียงเป็นเอียะ เมื่อประสมสระ พยัญชนะต่างชุดกันออกเสียงต่างกัน มีรูปพยัญชนะซ้อน เมื่อเป็นตัวควบกล้ำ

ใช้เขียน

อ้างอิง

  • พจนานุกรมมอญ-ไทย ฉบับมอญสยาม. ศิลปวัฒนธรรม. 2548
  • สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทย มาจากไหน. มติชน. 2548