ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Lowtech2021 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 1509804 สร้างโดย 125.25.3.110 (พูดคุย)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ เดิมชื่อ ทัต เป็นบุตรคนที่สิบของ[[เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)]] กับ[[เจ้าคุณพระราชพันธุ์นวล]] (คุณนวล น้องสาวของ [[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]] พระอัครมเหสีใน [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]) และเป็นน้องชายของ[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์]] (ดิศ บุนนาค)
สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ เดิมชื่อ ทัต เป็นบุตรคนที่สิบของ[[เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)]] กับ[[เจ้าคุณพระราชพันธุ์นวล]] (คุณนวล น้องสาวของ [[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]] พระอัครมเหสีใน [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]) และเป็นน้องชายของ[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์]] (ดิศ บุนนาค)


สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ เริ่มรับราชการในรัชกาลที่ 1 ตำแหน่งนายกสนิทหุ้มแพรมหาดเล็ก ต่อมารัชกาลที่ 2 โปรดเกล้าฯ ให้เป็นจมื่นเด็กชา หัวหมื่นมหาดเล็กวังหน้า รับราชการใน[[กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์]] และย้ายกลับมารับราชการตำแหน่งจางวางมหาดเล็ก หลังจากกรมพระราชวังบวรฯ สวรรคตในปี พ.ศ. 2460 และได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น พระยาศรีสุริยวงศ์ ในเวลาต่อมา
สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ เริ่มรับราชการในรัชกาลที่ 1 ตำแหน่งนายกสนิทหุ้มแพรมหาดเล็ก ต่อมารัชกาลที่ 2 โปรดเกล้าฯ ให้เป็นจมื่นเด็กชา หัวหมื่นมหาดเล็กวังหน้า รับราชการใน[[กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์]] และย้ายกลับมารับราชการตำแหน่งจางวางมหาดเล็ก หลังจากกรมพระราชวังบวรฯ สวรรคตในปี พ.ศ. 2360 และได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น พระยาศรีสุริยวงศ์ ในเวลาต่อมา


ในรัชกาลที่ 3 โปรดเกล้าฯ ให้เป็น พระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษา ตำแหน่งจางวางพระคลังสินค้า ต่อมาในรัชกาลที่ 4 ทรงโปรดให้เรียกพระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษาว่า เจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ และทรงโปรดเกล้าให้เป็น สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ ให้สำเร็จราชการทุกสิ่งในพระนคร รวมทั้งว่าที่พระคลังสินค้า คนทั่วไปนิยมเรียกท่านว่า "สมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย" (เรียกสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ พี่ชายของท่านว่าว่า "สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่")
ในรัชกาลที่ 3 โปรดเกล้าฯ ให้เป็น พระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษา ตำแหน่งจางวางพระคลังสินค้า ต่อมาในรัชกาลที่ 4 ทรงโปรดให้เรียกพระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษาว่า เจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ และทรงโปรดเกล้าให้เป็น สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ ให้สำเร็จราชการทุกสิ่งในพระนคร รวมทั้งว่าที่พระคลังสินค้า คนทั่วไปนิยมเรียกท่านว่า "สมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย" (เรียกสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ พี่ชายของท่านว่าว่า "สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่")

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:12, 16 กรกฎาคม 2554

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค) (พ.ศ. 2334 - พ.ศ. 2400) หรือ สมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย ที่พระคลังสินค้าในรัชกาลที่ 4

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ เดิมชื่อ ทัต เป็นบุตรคนที่สิบของเจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค) กับเจ้าคุณพระราชพันธุ์นวล (คุณนวล น้องสาวของ สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี พระอัครมเหสีใน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก) และเป็นน้องชายของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ เริ่มรับราชการในรัชกาลที่ 1 ตำแหน่งนายกสนิทหุ้มแพรมหาดเล็ก ต่อมารัชกาลที่ 2 โปรดเกล้าฯ ให้เป็นจมื่นเด็กชา หัวหมื่นมหาดเล็กวังหน้า รับราชการในกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ และย้ายกลับมารับราชการตำแหน่งจางวางมหาดเล็ก หลังจากกรมพระราชวังบวรฯ สวรรคตในปี พ.ศ. 2360 และได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น พระยาศรีสุริยวงศ์ ในเวลาต่อมา

ในรัชกาลที่ 3 โปรดเกล้าฯ ให้เป็น พระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษา ตำแหน่งจางวางพระคลังสินค้า ต่อมาในรัชกาลที่ 4 ทรงโปรดให้เรียกพระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษาว่า เจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ และทรงโปรดเกล้าให้เป็น สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ ให้สำเร็จราชการทุกสิ่งในพระนคร รวมทั้งว่าที่พระคลังสินค้า คนทั่วไปนิยมเรียกท่านว่า "สมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย" (เรียกสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ พี่ชายของท่านว่าว่า "สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่")

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ เป็นแม่กองสร้างวัดสุทัศน์เทพวราราม สร้างพระปรางค์ภูเขาทอง วัดสระเกศ สร้างวัดปทุมวนาราม สร้างพระอภิเนาว์นิเวศน์และพระที่นั่งไชยชุมพล ซ่อมพระที่นั่งสุทไธสวรรย์ ในพระบรมมหาราชวัง นอกจากนี้ท่านยังมีความสามารถในการเดินเรือ เป็นผู้ต่อเรือบาร์จ (เรือท้องแบน) ขนาด 300 ตัน และเรือสกูนเนอร์ ขนาด 200 ตัน ใช้เดินทางติดต่อค้าขายถึงศรีลังกา

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ ถึงแก่พิราลัยในปี พ.ศ. 2400 อายุ 67 ปี ขณะเป็นแม่กองสร้างสวนนันทอุทยานเป็นผลงานชิ้นสุดท้าย

ธิดาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ ที่เกิดกับหม่อมคล้าย ชื่อ สำลี ได้เป็นเจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเป็น เจ้าคุณจอมมารดาสำลี มีพระเจ้าลูกเธอ 5 พระองค์ คือ

อ้างอิง