ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อ็องตวน ลาวัวซีเย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: it:Antoine-Laurent de Lavoisier
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
<!--แปลจากบทความชื่อ Antoine Lavoisier ในวิกิพีเดียอังกฤษ ชื่อบางชื่อที่เป็นภาษาฝรั่งเศสอาจผิดพลาดไปบ้าง-->
<!--แปลจากบทความชื่อ Antoine Lavoisier ในวิกิพีเดียอังกฤษ ชื่อบางชื่อที่เป็นภาษาฝรั่งเศสอาจผิดพลาดไปบ้าง-->
[[ไฟล์:Antoine_lavoisier_color.jpg|thumb|right|อองตวน โลรอง ลาวัวซิเยร์]]
[[ไฟล์:Antoine_lavoisier_color.jpg|thumb|right|อ็องตวน-โลร็อง เดอ ลาวัวซีเย]]
'''อ็องตวน-โลร็อง เดอ ลาวัวซีเย''' ({{lang-fr|Antoine-Laurent de Lavoisier}}; [[26 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2286]] - [[8 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2337]]) เป็น[[นักวิทยาศาสตร์]][[ชาวฝรั่งเศส]]ผู้ซึ่งต้องจบชีวิตลงโดย[[กิโยติน]] เขามีผลงานสำคัญคือ ได้ตั้ง[[กฎการอนุรักษ์มวล]] (หรือกฎทรงมวล) และการล้มล้าง[[ทฤษฎีโฟลจิสตัน]] ซึ่งเป็นประโยชน์มากในการศึกษาวิชา[[เคมี]]

'''อองตวน-โลรอง เดอ ลาวัวซิเยร์''' หรือ '''อองตวน-โลรอง ลาวัวซิเยร์''' (Antoine-Laurent de Lavoisier) ([[26 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2286]] - [[8 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2337]]) เป็น[[นักวิทยาศาสตร์]][[ชาวฝรั่งเศส]] ผู้ซึ่งต้องจบชีวิตลงโดย[[กิโยติน]] เขามีผลงานสำคัญคือ ได้ตั้ง[[กฎการอนุรักษ์มวล]] (หรือกฎทรงมวล) และการล้มล้าง[[ทฤษฎีโฟลจิสตัน]] ซึ่งเป็นประโยชน์มากในการศึกษาวิชา[[เคมี]]


== ชีวิตตอนต้น ==
== ชีวิตตอนต้น ==
'''อองตวน ลาวัวซิเยร์''' เกิดในตระกูลผู้ดีตระกูลหนึ่ง ต่อมาได้ศึกษาต่อยังวิทยาลัยมาซาแรง (Mazarin College) ในสาขาวิชา[[คณิตศาสตร์]] [[ดาราศาสตร์]] [[พฤกษศาสตร์]] และ [[เคมี]] เขามีความสนใจอย่างแรงกล้าในวิชาเคมี โดยการชักจูงของเอเตียน กงดิยัก (Étienne Condillac)
อ็องตวน ลาวัวซีเย เกิดในตระกูลผู้ดีตระกูลหนึ่ง ต่อมาได้ศึกษาต่อยังวิทยาลัยมาซาแร็ง (Mazarin College) ในสาขาวิชา[[คณิตศาสตร์]] [[ดาราศาสตร์]] [[พฤกษศาสตร์]] และ[[เคมี]] เขามีความสนใจอย่างแรงกล้าในวิชาเคมี โดยการชักจูงของเอเตียน กงดียัก (Étienne Condillac)
[[ไฟล์:David - Portrait of Monsieur Lavoisier and His Wife.jpg|thumb|200px|left|ภาพวาด ''มงสิเยอร์ ลาวัวซิเยร์ และภรรยา'' (''Portrait of Monsieur Lavoisier and his Wife'') โดย [[ชาก-หลุยส์ ดาวิด]] จิตรกรชาวฝรั่งเศส]]
[[ไฟล์:David - Portrait of Monsieur Lavoisier and His Wife.jpg|thumb|200px|left|ภาพวาด ''เมอซีเยอร์ลาวัวซีเยและภรรยา'' (''Portrait of Monsieur Lavoisier and his Wife'') โดย[[ฌัก-หลุยส์ ดาวิด]] จิตรกรชาวฝรั่งเศส]]
ต่อมา อองตวนได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกของสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งฝรั่งเศส พออายุได้ 25 ปี เขาได้เขียนบทความเกี่ยวกับการจุดไฟตามถนน ต่อมาในปี พ.ศ. 2314 เขาได้แต่งงานกับมารี-แอน ปิแอเรต ปอลเซ (Marie-Anne Pierrette Paulze) ซึ่งมีอายุเพียง 13 ปี ในขณะที่อองตวนอายุได้ 28 ปี
ต่อมา อ็องตวนได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกของสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งฝรั่งเศส พออายุได้ 25 ปี เขาได้เขียนบทความเกี่ยวกับการจุดไฟตามถนน ต่อมาในปี พ.ศ. 2314 เขาได้แต่งงานกับมารี-อาน ปีแยเร็ต ปอลซ์ (Marie-Anne Pierrette Paulze) ซึ่งมีอายุเพียง 13 ปี ในขณะที่อ็องตวนอายุได้ 28 ปี


== ผลงานที่สำคัญ ==
== ผลงานที่สำคัญ ==
=== ด้านวิทยาศาสตร์ ===
=== ด้านวิทยาศาสตร์ ===
[[ไฟล์:Lavoisier-statue.jpg|thumb|170px|right|รูปปั้นของอองตวน ลาวัวซิเยร์]]
[[ไฟล์:Lavoisier-statue.jpg|thumb|170px|right|รูปปั้นของอ็องตวน ลาวัวซีเย]]


ช่วงปี พ.ศ. 2318 อองตวนได้พัฒนาการผลิต[[ดินปืน]] และการใช้[[โพแทสเซียมไนเตรต]] หรือ[[ดินประสิว]] ในการเกษตร งานที่สำคัญอย่างหนึ่งของเขาก็คือ การทดลองเกี่ยวกับปฏิกิริยาการเผาไหม้ เขากล่าวว่าการเผาไหม้เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับออกซิเจน และการสลายสารอาหารในสิ่งมีชีวิต ก็คือปฏิกิริยาการเผาไหม้เช่นเดียวกัน เพียงแต่ช้าและอ่อนกว่า จนทำให้ทฤษฎีโฟลจิสตัน ซึ่งกล่าวว่า เมื่อสสารถูกเผาไหม้ ก็จะปล่อยสารที่เรียกว่าโฟลจิสตันออกมา ต้องมีอันยกเลิกไป
ช่วงปี พ.ศ. 2318 อ็องตวนได้พัฒนาการผลิต[[ดินปืน]] และการใช้[[โพแทสเซียมไนเตรต]] หรือ[[ดินประสิว]] ในการเกษตร งานที่สำคัญอย่างหนึ่งของเขาก็คือ การทดลองเกี่ยวกับปฏิกิริยาการเผาไหม้ เขากล่าวว่าการเผาไหม้เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับออกซิเจน และการสลายสารอาหารในสิ่งมีชีวิต ก็คือปฏิกิริยาการเผาไหม้เช่นเดียวกัน เพียงแต่ช้าและอ่อนกว่า จนทำให้ทฤษฎีโฟลจิสตัน ซึ่งกล่าวว่า เมื่อสสารถูกเผาไหม้ ก็จะปล่อยสารที่เรียกว่าโฟลจิสตันออกมา ต้องมีอันยกเลิกไป


นอกจากนี้ อองตวนยังได้ค้นพบว่า "อากาศที่ไหม้ไฟได้" ของ[[เฮนรี คาเวนดิช]] ซึ่งอองตวนเรียกมันว่า [[ไฮโดรเจน]] (ภาษากรีกหมายถึง ผู้สร้างน้ำ) เมื่อรวมกับออกซิเจนจะได้หยดน้ำ ซึ่งไปตรงกับผลการทดลองของ[[โจเซฟ พริสต์ลีย์]]
นอกจากนี้ อ็องตวนยังได้ค้นพบว่า "อากาศที่ไหม้ไฟได้" ของ[[เฮนรี คาเวนดิช]] ซึ่งอ็องตวนเรียกมันว่า [[ไฮโดรเจน]] (ภาษากรีกหมายถึง ผู้สร้างน้ำ) เมื่อรวมกับออกซิเจนจะได้หยดน้ำ ซึ่งไปตรงกับผลการทดลองของ[[โจเซฟ พริสต์ลีย์]]


ในด้าน[[ปริมาณสัมพันธ์]] (stoichiometry) อองตวนได้ทดลองเผา[[ฟอสฟอรัส]]และ[[กำมะถัน]]ในอากาศ และพิสูจน์ได้ว่ามวลของผลิตภัณฑ์มีมากกว่ามวลของสารตั้งต้น ซึ่งมวลที่เพิ่มได้มาจากอากาศนั่นเอง จึงทำให้เกิดกฎการอนุรักษ์มวล หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า กฎทรงมวล
ในด้าน[[ปริมาณสัมพันธ์]] (stoichiometry) อ็องตวนได้ทดลองเผา[[ฟอสฟอรัส]]และ[[กำมะถัน]]ในอากาศ และพิสูจน์ได้ว่ามวลของผลิตภัณฑ์มีมากกว่ามวลของสารตั้งต้น ซึ่งมวลที่เพิ่มได้มาจากอากาศนั่นเอง จึงทำให้เกิดกฎการอนุรักษ์มวล หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า กฎทรงมวล


หนังสือของเขาชื่อ ''Traité Élémentaire de Chimie'' พิมพ์เมื่อปี พ.ศ. 2332 ภายในมีเนื้อหาเกี่ยวกับกฎการอนุรักษ์มวล และปฏิเสธการมีอยู่ของทฤษฎี[[โฟลจิสตัน]]
หนังสือของเขาชื่อ ''Traité Élémentaire de Chimie'' พิมพ์เมื่อปี พ.ศ. 2332 ภายในมีเนื้อหาเกี่ยวกับกฎการอนุรักษ์มวล และปฏิเสธการมีอยู่ของทฤษฎี[[โฟลจิสตัน]]


=== ด้านกฎหมายและการเมือง ===
=== ด้านกฎหมายและการเมือง ===
นอกจากที่อองตวนจะศึกษาวิทยาศาสตร์แล้ว เขายังศึกษากฎหมายและการเมืองจนได้เป็นเนติบัณฑิต เมื่ออายุ 26 ปี เขาได้เป็นเจ้าพนักงานเก็บอากร ซึ่งเขาก็ได้ปรับปรุงระบบภาษีอากรและการคลัง พร้อมกับพัฒนาหน่วยวัดในระบบเมตริก ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศฝรั่งเศส
นอกจากที่อ็องตวนจะศึกษาวิทยาศาสตร์แล้ว เขายังศึกษากฎหมายและการเมืองจนได้เป็นเนติบัณฑิต เมื่ออายุ 26 ปี เขาได้เป็นเจ้าพนักงานเก็บอากร ซึ่งเขาก็ได้ปรับปรุงระบบภาษีอากรและการคลัง พร้อมกับพัฒนาหน่วยวัดในระบบเมตริก ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศฝรั่งเศส


== ชีวิตบั้นปลาย ==
== ชีวิตบั้นปลาย ==
ต่อมา อองตวนถูกกล่าวหาว่าเป็นกบฎโดยคณะปฏิวัติฝรั่งเศส และถูกตัดสินให้ประหารชีวิตโดยการตัดศีรษะ เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2337 ผู้พิพากษาให้เหตุผลในการตัดสินครั้งนี้ว่า “สาธารณรัฐของเราไม่ต้องการนักปราชญ์” จนทำให้[[โจเซฟ หลุยส์ ลากรองจ์]] นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ได้กล่าวอย่างโศกเศร้าเสียใจว่าฝรั่งเศสจะไม่มีอะไรที่เหมือนผลงานของอองตวนไปชั่วศตวรรษ หนึ่งปีครึ่งให้หลังปรากฏว่าความผิดของอองตวนนั้นหามีไม่ ทรัพย์สินส่วนตัวของเขา ถูกส่งให้แก่ภรรยาหม้าย พร้อมด้วยข้อความว่า "ถึงแม่หม้ายลาวัวซิเยร์ ผู้ถูกตัดสินอย่างผิดพลาด"
ต่อมาอ็องตวนถูกกล่าวหาว่าเป็นกบฎโดยคณะปฏิวัติฝรั่งเศส และถูกตัดสินให้ประหารชีวิตโดยการตัดศีรษะ เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2337 ผู้พิพากษาให้เหตุผลในการตัดสินครั้งนี้ว่า “สาธารณรัฐของเราไม่ต้องการนักปราชญ์” จนทำให้[[โฌแซ็ฟ-หลุยส์ ลากร็องฌ์]] นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส กล่าวอย่างโศกเศร้าเสียใจว่าฝรั่งเศสจะไม่มีอะไรที่เหมือนผลงานของอ็องตวนไปชั่วศตวรรษ หนึ่งปีครึ่งให้หลังปรากฏว่าความผิดของอ็องตวนนั้นหามีไม่ ทรัพย์สินส่วนตัวของเขาถูกส่งให้แก่ภรรยาหม้าย พร้อมด้วยข้อความว่า "ถึงแม่หม้ายลาวัวซีเย ผู้ถูกตัดสินอย่างผิดพลาด"


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==


* [http://moro.imss.fi.it/lavoisier/ พิพิธภัณฑ์เสมือนจริงเกี่ยวกับอองตวน ลาวัวซิเยร์]
* [http://moro.imss.fi.it/lavoisier/ พิพิธภัณฑ์เสมือนจริงเกี่ยวกับอ็องตวน ลาวัวซีเย]
* [http://histsciences.univ-paris1.fr/i-corpus/lavoisier/index.php ผลงานของอองตวน ลาวัวซิเยร์ (ภาษาฝรั่งเศส)]
* [http://histsciences.univ-paris1.fr/i-corpus/lavoisier/index.php ผลงานของอ็องตวน ลาวัวซีเย (ภาษาฝรั่งเศส)]
* [http://www.chemheritage.org/EducationalServices/chemach/fore/all.html หน้าประวัติของอองตวน ลาวัวซิเยร์ (ภาษาอังกฤษ)]
* [http://www.chemheritage.org/EducationalServices/chemach/fore/all.html หน้าประวัติของอ็องตวน ลาวัวซีเย (ภาษาอังกฤษ)]


{{คอมมอนส์|Antoine-Laurent de Lavoisier}}
{{คอมมอนส์|Antoine-Laurent de Lavoisier}}


[[หมวดหมู่:นักเคมีชาวฝรั่งเศส|อองตวน ลาวัวซิเยร์]]
[[หมวดหมู่:นักเคมีชาวฝรั่งเศส|อ็องตวน ลาวัวซีเย]]
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2286|อองตวน ลาวัวซิเยร์]]
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2286|อ็องตวน ลาวัวซีเย]]
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2337|อองตวน ลาวัวซิเยร์]]
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2337|อ็องตวน ลาวัวซีเย]]


{{Link FA|he}}
{{Link FA|he}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:19, 8 ตุลาคม 2553

อ็องตวน-โลร็อง เดอ ลาวัวซีเย

อ็องตวน-โลร็อง เดอ ลาวัวซีเย (ฝรั่งเศส: Antoine-Laurent de Lavoisier; 26 สิงหาคม พ.ศ. 2286 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2337) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสผู้ซึ่งต้องจบชีวิตลงโดยกิโยติน เขามีผลงานสำคัญคือ ได้ตั้งกฎการอนุรักษ์มวล (หรือกฎทรงมวล) และการล้มล้างทฤษฎีโฟลจิสตัน ซึ่งเป็นประโยชน์มากในการศึกษาวิชาเคมี

ชีวิตตอนต้น

อ็องตวน ลาวัวซีเย เกิดในตระกูลผู้ดีตระกูลหนึ่ง ต่อมาได้ศึกษาต่อยังวิทยาลัยมาซาแร็ง (Mazarin College) ในสาขาวิชาคณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ พฤกษศาสตร์ และเคมี เขามีความสนใจอย่างแรงกล้าในวิชาเคมี โดยการชักจูงของเอเตียน กงดียัก (Étienne Condillac)

ภาพวาด เมอซีเยอร์ลาวัวซีเยและภรรยา (Portrait of Monsieur Lavoisier and his Wife) โดยฌัก-หลุยส์ ดาวิด จิตรกรชาวฝรั่งเศส

ต่อมา อ็องตวนได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกของสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งฝรั่งเศส พออายุได้ 25 ปี เขาได้เขียนบทความเกี่ยวกับการจุดไฟตามถนน ต่อมาในปี พ.ศ. 2314 เขาได้แต่งงานกับมารี-อาน ปีแยเร็ต ปอลซ์ (Marie-Anne Pierrette Paulze) ซึ่งมีอายุเพียง 13 ปี ในขณะที่อ็องตวนอายุได้ 28 ปี

ผลงานที่สำคัญ

ด้านวิทยาศาสตร์

รูปปั้นของอ็องตวน ลาวัวซีเย

ช่วงปี พ.ศ. 2318 อ็องตวนได้พัฒนาการผลิตดินปืน และการใช้โพแทสเซียมไนเตรต หรือดินประสิว ในการเกษตร งานที่สำคัญอย่างหนึ่งของเขาก็คือ การทดลองเกี่ยวกับปฏิกิริยาการเผาไหม้ เขากล่าวว่าการเผาไหม้เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับออกซิเจน และการสลายสารอาหารในสิ่งมีชีวิต ก็คือปฏิกิริยาการเผาไหม้เช่นเดียวกัน เพียงแต่ช้าและอ่อนกว่า จนทำให้ทฤษฎีโฟลจิสตัน ซึ่งกล่าวว่า เมื่อสสารถูกเผาไหม้ ก็จะปล่อยสารที่เรียกว่าโฟลจิสตันออกมา ต้องมีอันยกเลิกไป

นอกจากนี้ อ็องตวนยังได้ค้นพบว่า "อากาศที่ไหม้ไฟได้" ของเฮนรี คาเวนดิช ซึ่งอ็องตวนเรียกมันว่า ไฮโดรเจน (ภาษากรีกหมายถึง ผู้สร้างน้ำ) เมื่อรวมกับออกซิเจนจะได้หยดน้ำ ซึ่งไปตรงกับผลการทดลองของโจเซฟ พริสต์ลีย์

ในด้านปริมาณสัมพันธ์ (stoichiometry) อ็องตวนได้ทดลองเผาฟอสฟอรัสและกำมะถันในอากาศ และพิสูจน์ได้ว่ามวลของผลิตภัณฑ์มีมากกว่ามวลของสารตั้งต้น ซึ่งมวลที่เพิ่มได้มาจากอากาศนั่นเอง จึงทำให้เกิดกฎการอนุรักษ์มวล หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า กฎทรงมวล

หนังสือของเขาชื่อ Traité Élémentaire de Chimie พิมพ์เมื่อปี พ.ศ. 2332 ภายในมีเนื้อหาเกี่ยวกับกฎการอนุรักษ์มวล และปฏิเสธการมีอยู่ของทฤษฎีโฟลจิสตัน

ด้านกฎหมายและการเมือง

นอกจากที่อ็องตวนจะศึกษาวิทยาศาสตร์แล้ว เขายังศึกษากฎหมายและการเมืองจนได้เป็นเนติบัณฑิต เมื่ออายุ 26 ปี เขาได้เป็นเจ้าพนักงานเก็บอากร ซึ่งเขาก็ได้ปรับปรุงระบบภาษีอากรและการคลัง พร้อมกับพัฒนาหน่วยวัดในระบบเมตริก ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศฝรั่งเศส

ชีวิตบั้นปลาย

ต่อมาอ็องตวนถูกกล่าวหาว่าเป็นกบฎโดยคณะปฏิวัติฝรั่งเศส และถูกตัดสินให้ประหารชีวิตโดยการตัดศีรษะ เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2337 ผู้พิพากษาให้เหตุผลในการตัดสินครั้งนี้ว่า “สาธารณรัฐของเราไม่ต้องการนักปราชญ์” จนทำให้โฌแซ็ฟ-หลุยส์ ลากร็องฌ์ นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส กล่าวอย่างโศกเศร้าเสียใจว่าฝรั่งเศสจะไม่มีอะไรที่เหมือนผลงานของอ็องตวนไปชั่วศตวรรษ หนึ่งปีครึ่งให้หลังปรากฏว่าความผิดของอ็องตวนนั้นหามีไม่ ทรัพย์สินส่วนตัวของเขาถูกส่งให้แก่ภรรยาหม้าย พร้อมด้วยข้อความว่า "ถึงแม่หม้ายลาวัวซีเย ผู้ถูกตัดสินอย่างผิดพลาด"

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA