ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มอาการคุชิง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่กล่องข้อมูล
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล โรค
{{กล่องข้อมูล โรค
| Name = กลุ่มอาการคุชชิง<br /><small>(Cushing's syndrome)</small>
| Name = กลุ่มอาการคุชชิง<br /><small> (Cushing's syndrome) </small>
| Image =
| Image =
| Caption =
| Caption =
| DiseasesDB =
| DiseasesDB =
| ICD10 = {{ICD10|E|24||e|20}}
| ICD10 = {{ICD10|E|24||e|20}}
| ICD9 = {{ICD9|255.0}}
| ICD9 = {{ICD9|255.0}}
| ICDO =
| ICDO =
| OMIM =
| OMIM =
| MedlinePlus = 000410
| MedlinePlus = 000410
| eMedicineSubj = article
| eMedicineSubj = article
| eMedicineTopic = 117365
| eMedicineTopic = 117365
| MeshID = D003480
| MeshID = D003480
}}
}}
'''กลุ่มอาการคุชชิง''' ({{Lang-en|Cushing's syndrome}}) บางครั้งเรียก hyperadrenocorticism หรือ hypercorticism เป็นความผิดปกติของ[[ระบบต่อมไร้ท่อ]]ที่ทำให้มีระดับฮอร์โมน[[คอร์ติซอล]]ในเลือดสูง (hypercortisolism) อาจเกิดจากการได้รับยา[[เสตียรอยด์]] หรือจากเนื้องอกที่หลั่งคอร์ติซอลหรือ[[adrenocorticotropic hormone|ฮอร์โมน adrenocorticotropic]] (ACTH) โรคหนึ่งเรียกว่า[[โรคคุชชิงที่ขึ้นกับต่อมใต้สมอง|โรคคุชชิง]]เป็นสาเหตุหนึ่งของกลุ่มอาการนี้ เกิดจากการมีเนื้องอก ([[อะดีโนมา]]) ที่[[ต่อมใต้สมอง]] แล้วหลั่งฮอร์โมน ACTH ปริมาณมากออกมาทำให้มีการสร้างคอร์ติซอลมาก เฉพาะโรคนี้สามารถรักษาได้ด้วยการผ่าตัด โรคนี้ได้รับการอธิบายโดยนายแพทย์ [[Harvey Cushing]] ในปีค.ศ. 1932<ref>{{cite journal |author=Cushing HW. |title=The basophil adenomas of the pituitary body and their clinical manifestations (pituitary basophilism). |journal=Bull Johns Hopkins Hosp |volume=50 |issue= |pages=137–95 |year=1932}}</ref>
'''กลุ่มอาการคุชชิง''' ({{Lang-en|Cushing's syndrome}}) บางครั้งเรียก hyperadrenocorticism หรือ hypercorticism เป็นความผิดปกติของ[[ระบบต่อมไร้ท่อ]]ที่ทำให้มีระดับฮอร์โมน[[คอร์ติซอล]]ในเลือดสูง (hypercortisolism) อาจเกิดจากการได้รับยา[[เสตียรอยด์]] หรือจากเนื้องอกที่หลั่งคอร์ติซอลหรือ[[adrenocorticotropic hormone|ฮอร์โมน adrenocorticotropic]] (ACTH) โรคหนึ่งเรียกว่า[[โรคคุชชิงที่ขึ้นกับต่อมใต้สมอง|โรคคุชชิง]]เป็นสาเหตุหนึ่งของกลุ่มอาการนี้ เกิดจากการมีเนื้องอก ([[อะดีโนมา]]) ที่[[ต่อมใต้สมอง]] แล้วหลั่งฮอร์โมน ACTH ปริมาณมากออกมาทำให้มีการสร้างคอร์ติซอลมาก เฉพาะโรคนี้สามารถรักษาได้ด้วยการผ่าตัด โรคนี้ได้รับการอธิบายโดยนายแพทย์ [[Harvey Cushing]] ในปีค.ศ. 1932<ref>{{cite journal |author=Cushing HW. |title=The basophil adenomas of the pituitary body and their clinical manifestations (pituitary basophilism). |journal=Bull Johns Hopkins Hosp |volume=50 |issue= |pages=137–95 |year=1932}}</ref>
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{Reflist}}
{{Reflist}}
{{โครงแพทย์}}


[[หมวดหมู่:โรคต่อมไร้ท่อ]]
[[หมวดหมู่:โรคต่อมไร้ท่อ]]
{{โครงแพทย์}}


[[ar:فرط نشاط قشر الكظر]]
[[ar:فرط نشاط قشر الكظر]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:39, 12 กันยายน 2553

กลุ่มอาการคุชชิง
(Cushing's syndrome)
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10E24
ICD-9255.0
MedlinePlus000410
eMedicinearticle/117365
MeSHD003480

กลุ่มอาการคุชชิง (อังกฤษ: Cushing's syndrome) บางครั้งเรียก hyperadrenocorticism หรือ hypercorticism เป็นความผิดปกติของระบบต่อมไร้ท่อที่ทำให้มีระดับฮอร์โมนคอร์ติซอลในเลือดสูง (hypercortisolism) อาจเกิดจากการได้รับยาเสตียรอยด์ หรือจากเนื้องอกที่หลั่งคอร์ติซอลหรือฮอร์โมน adrenocorticotropic (ACTH) โรคหนึ่งเรียกว่าโรคคุชชิงเป็นสาเหตุหนึ่งของกลุ่มอาการนี้ เกิดจากการมีเนื้องอก (อะดีโนมา) ที่ต่อมใต้สมอง แล้วหลั่งฮอร์โมน ACTH ปริมาณมากออกมาทำให้มีการสร้างคอร์ติซอลมาก เฉพาะโรคนี้สามารถรักษาได้ด้วยการผ่าตัด โรคนี้ได้รับการอธิบายโดยนายแพทย์ Harvey Cushing ในปีค.ศ. 1932[1]

กลุ่มอาการคุชชิงไม่ได้พบแต่ในเพียงมนุษย์เท่านั้นและยังพบได้บ่อยในสุนัขและม้าด้วย[ต้องการอ้างอิง]

อ้างอิง

  1. Cushing HW. (1932). "The basophil adenomas of the pituitary body and their clinical manifestations (pituitary basophilism)". Bull Johns Hopkins Hosp. 50: 137–95.