ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลิลิตยวนพ่าย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ฉัตรา (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ฉัตรา (คุย | ส่วนร่วม)
เริ่มเก็บกวาด
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{ช่วยดูหน่อย}}
{{ช่วยดูหน่อย}}
{{รออ้างอิง}}
{{รออ้างอิง}}
ยวนพ่ายโคลงสั้น

ลิลิตยวนพ่าย เป็นวรรณคดีประเภทสดุดีวีรกรรมของพระมหากษัตริย์ จัดเป็นวรรณคดีประวัติศาสตร์

ผู้แต่ง ไม่ปรากฏนาม แต่คงเป็นผู้รู้เรื่องวรรณคดีสันสกฤตและพงศาวดารอย่างลึกซึ้ง จึงแต่งได้ดีมาก

ทำนองการแต่ง แต่งเป็นลิลิตดั้น กล่าวคือเป็นร่ายดั้นและโคลงดั้น
บาทกุญชร ต่อมาไม่ใช่คำว่าลิลิตเรียกเพราะการแต่งไม่ได้มีร่ายดั้นประกอบทุกบท มีเพียงร่ายดั้นนำเพียงตอนแรกเท่านั้นจึกเรียก ยวนพ่ายโคลงดั้น


'''ลิลิตยวนพ่าย''' เป็นวรรณคดีประเภทสดุดีวีรกรรมของ[[พระมหากษัตริย์]] จัดเป็นวรรณคดีประวัติศาสตร์ ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง แต่สันนิษฐานว่าแต่งขึ้นในรัชสมัย[[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2]] เพื่อเฉลิมพระเกียรติ[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]] ลิลิตยวนพ่ายแต่งเป็นลิลิตดั้น กล่าวคือ เป็นร่ายดั้นและโคลงดั้นบาทกุญชร<ref> [http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK24/chapter1/t24-1-l2.htm#sect1 ลิลิตยวนพ่าย]</ref> ต่อมา ไม่ใช่คำว่าลิลิตเรียกเพราะการแต่งไม่ได้มีร่ายดั้นประกอบทุกบท มีเพียงร่ายดั้นนำเพียงตอนแรกเท่านั้นจึงเรียกว่า ยวนพ่ายโคลงดั้น{{อ้างอิง}}
<!--
ความมุ่งหมายของการแต่ง เพื่อยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์
ความมุ่งหมายของการแต่ง เพื่อยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์


บรรทัด 112: บรรทัด 106:
สดุดีความดีเด่นของลิลิตยวนพ่าย ทำให้กวีภายหลังถือเป็นแบบอย่าง เช่น
สดุดีความดีเด่นของลิลิตยวนพ่าย ทำให้กวีภายหลังถือเป็นแบบอย่าง เช่น
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา ปรมานุชิตชิโนรสทรงนิพนธ์ลิลิตตะเลงพ่าย เพื่อสดุดีวีรกรรมของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา ปรมานุชิตชิโนรสทรงนิพนธ์ลิลิตตะเลงพ่าย เพื่อสดุดีวีรกรรมของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช



สรุปว่า ลิลิตยวนพ่ายมิได้เป็นวรรณคดีขนบประเพณีโดยตรง แต่เป็นวรรณคดีนำทางให้เกิดการยอพระเกียรติ คือ การยอพระเกียรติหรือแต่งสดุดีวีรกรรมของพระมหากษัตริย์ เป็นขนบประเพณีที่พึงกระทำสำหรับขุนนาง ข้าราชบริพารหรือเชื้อพระวงศ์สืบมา ถือเป็นการถวายความจงรักภัคดีรูปแบบหนึ่ง
สรุปว่า ลิลิตยวนพ่ายมิได้เป็นวรรณคดีขนบประเพณีโดยตรง แต่เป็นวรรณคดีนำทางให้เกิดการยอพระเกียรติ คือ การยอพระเกียรติหรือแต่งสดุดีวีรกรรมของพระมหากษัตริย์ เป็นขนบประเพณีที่พึงกระทำสำหรับขุนนาง ข้าราชบริพารหรือเชื้อพระวงศ์สืบมา ถือเป็นการถวายความจงรักภัคดีรูปแบบหนึ่ง






คุณค่าของเรื่องลิลิตยวนพ่าย
คุณค่าของเรื่องลิลิตยวนพ่าย
บรรทัด 129: บรรทัด 118:


4. ในด้านประวัติศาสตร์ ทำให้มองเห็น ได้รู้เรื่องราวเหตุการณ์ความเป็นไปในสมัยนั้น ไดรู้ถึงการทำสงครามระหว่างพระมหากษัตริย์ต่างเมืองกัน การรบซึ่งใช้ช้างและม้าเป็นพาหนะ และมีอาวุธด้วย ได้แลเห็นว่าชาติกว่าจะเป็นชาติมาได้ ต้องมีบาดแผลไม่น้อยเลย ชีวิตของชาติ ชีวิตของคนก็เช่นกัน
4. ในด้านประวัติศาสตร์ ทำให้มองเห็น ได้รู้เรื่องราวเหตุการณ์ความเป็นไปในสมัยนั้น ไดรู้ถึงการทำสงครามระหว่างพระมหากษัตริย์ต่างเมืองกัน การรบซึ่งใช้ช้างและม้าเป็นพาหนะ และมีอาวุธด้วย ได้แลเห็นว่าชาติกว่าจะเป็นชาติมาได้ ต้องมีบาดแผลไม่น้อยเลย ชีวิตของชาติ ชีวิตของคนก็เช่นกัน
-->

== อ้างอิง ==

{{รายการอ้างอิง}}
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

* [http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK24/chapter1/t24-1-l2.htm#sect1 ลิลิตยวนพ่าย]


[[ja:リリット・ユワンパーイ]]
[[ja:リリット・ユワンパーイ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:44, 22 สิงหาคม 2553

ลิลิตยวนพ่าย เป็นวรรณคดีประเภทสดุดีวีรกรรมของพระมหากษัตริย์ จัดเป็นวรรณคดีประวัติศาสตร์ ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง แต่สันนิษฐานว่าแต่งขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ลิลิตยวนพ่ายแต่งเป็นลิลิตดั้น กล่าวคือ เป็นร่ายดั้นและโคลงดั้นบาทกุญชร[1] ต่อมา ไม่ใช่คำว่าลิลิตเรียกเพราะการแต่งไม่ได้มีร่ายดั้นประกอบทุกบท มีเพียงร่ายดั้นนำเพียงตอนแรกเท่านั้นจึงเรียกว่า ยวนพ่ายโคลงดั้น[ต้องการอ้างอิง]

อ้างอิง