ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทัณฑนิคม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 7: บรรทัด 7:


ในระบบทัณฑนิคม นักโทษจะถูกส่งตัวออกไปไกล ๆ เพื่อป้องกันความพยายามในการหลบหนีและเพื่อตัดกำลังใจในการกลับมายังบ้านเกิดของตนหลังจากโทษหมดลง ทัณฑนิคมมักจะตั้งอยู่ในพื้นที่อันห่างไกลซึ่งไม่ได้การต้อนรับ ที่นั่น พวกเขาจะต้องใช้แรงงานโดยไม่ได้รับค่าจ้างซึ่งเอื้อประโยชน์ต่อประเทศแม่ก่อนที่แรงงานจะอพยพเข้ามาในพื้นที่ หรือนักโทษอาจต้องใช้แรงงานต่อไปหลังจากนั้น เนื่องจากค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่ามาก อันที่จริงแล้ว บางคน (โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนจน) มักจะถูกตัดสินให้ต้องกลายมาเป็นแรงงานราคาถูกจำนวนมาก
ในระบบทัณฑนิคม นักโทษจะถูกส่งตัวออกไปไกล ๆ เพื่อป้องกันความพยายามในการหลบหนีและเพื่อตัดกำลังใจในการกลับมายังบ้านเกิดของตนหลังจากโทษหมดลง ทัณฑนิคมมักจะตั้งอยู่ในพื้นที่อันห่างไกลซึ่งไม่ได้การต้อนรับ ที่นั่น พวกเขาจะต้องใช้แรงงานโดยไม่ได้รับค่าจ้างซึ่งเอื้อประโยชน์ต่อประเทศแม่ก่อนที่แรงงานจะอพยพเข้ามาในพื้นที่ หรือนักโทษอาจต้องใช้แรงงานต่อไปหลังจากนั้น เนื่องจากค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่ามาก อันที่จริงแล้ว บางคน (โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนจน) มักจะถูกตัดสินให้ต้องกลายมาเป็นแรงงานราคาถูกจำนวนมาก

== บรรณานุกรม ==

* Diiulio, John J., [http://books.google.com/books?id=s6AsM5Y_MUIC&printsec=frontcover ''Governing Prisons: A Comparative Study of Correctional Management''], Simon and Schuster, 1990. ISBN 0029078830
* Dupont, Jerry, "The Common Law Abroad: Constitutional and Legal Legacy of the British Empire", Wm. S. Hein Publishing, 2001. ISBN 0837731259, 9780837731254
* Johnsen, Thomas C., [http://harvardmagazine.com/1999/09/vita.html "Vita: Howard Belding Gill: Brief Life of a Prison Reformer: 1890-1989"], [[Harvard Magazine]], September-October 1999, p. 54.
*Serrill, M. S., "Norfolk - A Retrospective - New Debate Over a Famous Prison Experiment," ''Corrections Magazine'', Volume 8, Issue 4 (August 1982), pp. 25–32.
* Mun Cheong Yong, V. V. Bhanoji Rao, "Singapore-India Relations: A Primer", Study Group on Singapore-India Relations, National University of Singapore Centre for Advanced Studies Contributor Mun Cheong Yong, V. V. Bhanoji Rao, Yong Mun Cheong, Published by NUS Press, 1995. ISBN 9971691957, 9789971691950


[[หมวดหมู่:การกักขัง]]
[[หมวดหมู่:การกักขัง]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:00, 21 กรกฎาคม 2553

ทัณฑนิคม (อังกฤษ: penal colony) หมายถึงถิ่นฐานซึ่งใช้สำหรับเนรเทศนักโทษและแยกพวกเขาจากประชากรส่วนใหญ่โดยการส่งตัวนักโทษเหล่านี้ไปยังสถานที่ที่อยฦห่างไกล ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นเกาะหรือดินแดนอาณานิคมที่อยู่ไกลออกไป คำดังกล่าวมักหมายถึงประชาคมนักโทษซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของนักโทษหรือผู้ว่าการซึ่งมีอำนาจเด็ดขาด ในทางประวัติศาสตร์ ทัณฑนิคมมักจะเป็นสถานที่ซึ่งมีการใช้แรงงานนักโทษในดินแดนของรัฐ (หรือส่วนใหญ่คืออาณานิคม) ซึ่งเศรษฐกิจอย่างไม่พัฒนา และมีขนาดใหญ่กว่า "ฟาร์มในคุก" อย่างมาก ในทางปฏิบัติแล้ว ทัณฑนิคมมีความเหนือกว่าประชาคมทาสเพียงเล็กน้อยเท่านั้น จักรวรรดิอังกฤษ จักรวรรดิฝรั่งเศส และจักรวรรดิอาณานิคมอื่น ๆ มักจะใช้ทวีปอเมริกาเหนือ และส่วนอื่น ๆ ของโลกเป็นทัณฑนิยมสำหรับโทษที่แตกต่างกัน ซึ่งบางครั้งอยู่ในฐานะความจำยอม การผูกมัดหรือการจัดการที่คล้ายคลึงกัน

ลักษณะโดยทั่วไป

การปกครองภายในนิคมมักจะเต็มไปด้วยความโหดร้าย และบางครั้งรวมไปถึงการลงโทษทางกายอย่างรุนแรง ดังนั้น ถึงแม้ว่าบรรดานักโทษจะไม่ได้รับการตัดสินให้ถูกประหารชีวิต แต่ก็มีจำนวนมากที่เสียชีวิตจากความอดอยาก โรคระบาด ความละเลยทางการแพทย์ การใช้แรงงานหนัก หรือในระหว่างพยายามหลบหนี

ในระบบทัณฑนิคม นักโทษจะถูกส่งตัวออกไปไกล ๆ เพื่อป้องกันความพยายามในการหลบหนีและเพื่อตัดกำลังใจในการกลับมายังบ้านเกิดของตนหลังจากโทษหมดลง ทัณฑนิคมมักจะตั้งอยู่ในพื้นที่อันห่างไกลซึ่งไม่ได้การต้อนรับ ที่นั่น พวกเขาจะต้องใช้แรงงานโดยไม่ได้รับค่าจ้างซึ่งเอื้อประโยชน์ต่อประเทศแม่ก่อนที่แรงงานจะอพยพเข้ามาในพื้นที่ หรือนักโทษอาจต้องใช้แรงงานต่อไปหลังจากนั้น เนื่องจากค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่ามาก อันที่จริงแล้ว บางคน (โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนจน) มักจะถูกตัดสินให้ต้องกลายมาเป็นแรงงานราคาถูกจำนวนมาก

บรรณานุกรม