ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พลปืนหลัง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
M1A2 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
M1A2 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
== พลปืนหลังในอดีต ==
'''พลปืนหลัง''' เป็นตำแหน่งของทหารที่ต้องประจำการบนเครื่องบินรบในสมัย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เมื่อยังใช้เครื่องยนต์ใบพัด ปีกสองชั้น (เช่น เครื่องบินโจมตีคอร์แซร์) ทำหน้าที่คอยยิงต่อสู้กับข้าศึกทางด้านท้ายของเครื่องบิน โดยใช้[[ปืนกล]] ขณะที่นักบินจะคอยสังเกตการณ์ด้านหน้า และควบคุมการยิงกระสุนทางด้านหน้า รวมทั้งการปล่อย[[ระเบิด]]ที่ติดไว้ใต้ปีกและท้องเครื่อง นอกจากเครื่องบินโจมตีแล้ว ยังมีพลปืนหลังอยู่ในเครื่องบินแบบอื่น ๆ ด้วย เช่น เครื่องบินลำเลียง สังเกตการณ์ ทิ้งระเบิด ขับไล่ เป็นต้น
เป็นตำแหน่งของทหารที่ต้องประจำการบนเครื่องบินรบในสมัย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เมื่อยังใช้เครื่องยนต์ใบพัด ปีกสองชั้น (เช่น เครื่องบินโจมตีคอร์แซร์) ทำหน้าที่คอยยิงต่อสู้กับข้าศึกทางด้านท้ายของเครื่องบิน โดยใช้[[ปืนกล]] ขณะที่นักบินจะคอยสังเกตการณ์ด้านหน้า และควบคุมการยิงกระสุนทางด้านหน้า รวมทั้งการปล่อย[[ระเบิด]]ที่ติดไว้ใต้ปีกและท้องเครื่อง นอกจากเครื่องบินโจมตีแล้ว ยังมีพลปืนหลังอยู่ในเครื่องบินแบบอื่น ๆ ด้วย เช่น เครื่องบินลำเลียง สังเกตการณ์ ทิ้งระเบิด ขับไล่ เป็นต้น


พลปืนหลังใน[[กองทัพอากาศ]]ไทยเข้าประจำการครั้งแรกในช่วง[[สงครามอินโดจีน]] ในกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศส ([[พ.ศ. 2483]] - [[พ.ศ. 2484|2484]]) และนับเป็นการยุทธทางอากาศครั้งแรกของไทยด้วย แต่เพียงช่วงเวลาสั้นไม่กี่ปี เมื่อมีการนำเครื่องบินที่ทันสมัยเข้ามา ก็ได้เลิกตำแหน่งพลปืนหลังไป
พลปืนหลังใน[[กองทัพอากาศ]]ไทยเข้าประจำการครั้งแรกในช่วง[[สงครามอินโดจีน]] ในกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศส ([[พ.ศ. 2483]] - [[พ.ศ. 2484|2484]]) และนับเป็นการยุทธทางอากาศครั้งแรกของไทยด้วย แต่เพียงช่วงเวลาสั้นไม่กี่ปี เมื่อมีการนำเครื่องบินที่ทันสมัยเข้ามา ก็ได้เลิกตำแหน่งพลปืนหลังไป
บรรทัด 5: บรรทัด 6:
ตำแหน่งพลปืนหลังนับว่ามีความสำคัญในการสู้รบเป็นอย่างยิ่ง ในการยุทธทางอากาศยุคนั้น พลปืนหลังของกองทัพไทยได้ทำหน้าที่อย่างดีสมศักดิ์ศรี ทำลายชีวิตและเครื่องบินข้าศึกเป็นจำนวนไม่น้อย ขณะเดียวกัน พลปืนหลังของเราก็สังเวยชีวิตไปเป็นจำนวนมิใช่น้อยเช่นกัน
ตำแหน่งพลปืนหลังนับว่ามีความสำคัญในการสู้รบเป็นอย่างยิ่ง ในการยุทธทางอากาศยุคนั้น พลปืนหลังของกองทัพไทยได้ทำหน้าที่อย่างดีสมศักดิ์ศรี ทำลายชีวิตและเครื่องบินข้าศึกเป็นจำนวนไม่น้อย ขณะเดียวกัน พลปืนหลังของเราก็สังเวยชีวิตไปเป็นจำนวนมิใช่น้อยเช่นกัน
== ข้อความหัวเรื่อง == '''พลปืนหลังในปัจจุบัน'''
== พลปืนหลังในปัจจุบัน ==
ในปัจจุบันพลปืนหลังได้ถูกเรียกว่า นายสรรพาวุธ โดยมีหน้าที่ควบคุมยุทโธกรณ์ และเล็งอาวุธนำวิถี แทนนักบินคนที่1
ในปัจจุบันพลปืนหลังได้ถูกเรียกว่า นายสรรพาวุธ โดยมีหน้าที่ควบคุมยุทโธกรณ์ และเล็งอาวุธนำวิถี แทนนักบินคนที่1
โดยปรากฏชัดในเครื่องบินขับไล่-ทิ้งระเบิด เช่น Su-30 Su-34ของรัสเซีย F-15E/F/K/SG ของสหรัฐอเมริกา (F-15K เป็นเวอร์ชั่นสำหรับเกาหลีใต้ และF-15SG เป็นเวอร์ชั่นสำหรับของ สิงคโปร)
โดยปรากฏชัดในเครื่องบินขับไล่-ทิ้งระเบิด เช่น Su-30 Su-34ของรัสเซีย F-15E/F/K/SG ของสหรัฐอเมริกา (F-15K เป็นเวอร์ชั่นสำหรับเกาหลีใต้ และF-15SG เป็นเวอร์ชั่นสำหรับของ สิงคโปร)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:29, 2 ตุลาคม 2549

พลปืนหลังในอดีต

เป็นตำแหน่งของทหารที่ต้องประจำการบนเครื่องบินรบในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อยังใช้เครื่องยนต์ใบพัด ปีกสองชั้น (เช่น เครื่องบินโจมตีคอร์แซร์) ทำหน้าที่คอยยิงต่อสู้กับข้าศึกทางด้านท้ายของเครื่องบิน โดยใช้ปืนกล ขณะที่นักบินจะคอยสังเกตการณ์ด้านหน้า และควบคุมการยิงกระสุนทางด้านหน้า รวมทั้งการปล่อยระเบิดที่ติดไว้ใต้ปีกและท้องเครื่อง นอกจากเครื่องบินโจมตีแล้ว ยังมีพลปืนหลังอยู่ในเครื่องบินแบบอื่น ๆ ด้วย เช่น เครื่องบินลำเลียง สังเกตการณ์ ทิ้งระเบิด ขับไล่ เป็นต้น 

พลปืนหลังในกองทัพอากาศไทยเข้าประจำการครั้งแรกในช่วงสงครามอินโดจีน ในกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศส (พ.ศ. 2483 - 2484) และนับเป็นการยุทธทางอากาศครั้งแรกของไทยด้วย แต่เพียงช่วงเวลาสั้นไม่กี่ปี เมื่อมีการนำเครื่องบินที่ทันสมัยเข้ามา ก็ได้เลิกตำแหน่งพลปืนหลังไป

ตำแหน่งพลปืนหลังนับว่ามีความสำคัญในการสู้รบเป็นอย่างยิ่ง ในการยุทธทางอากาศยุคนั้น พลปืนหลังของกองทัพไทยได้ทำหน้าที่อย่างดีสมศักดิ์ศรี ทำลายชีวิตและเครื่องบินข้าศึกเป็นจำนวนไม่น้อย ขณะเดียวกัน พลปืนหลังของเราก็สังเวยชีวิตไปเป็นจำนวนมิใช่น้อยเช่นกัน

พลปืนหลังในปัจจุบัน

ในปัจจุบันพลปืนหลังได้ถูกเรียกว่า นายสรรพาวุธ โดยมีหน้าที่ควบคุมยุทโธกรณ์ และเล็งอาวุธนำวิถี แทนนักบินคนที่1 โดยปรากฏชัดในเครื่องบินขับไล่-ทิ้งระเบิด เช่น Su-30 Su-34ของรัสเซีย F-15E/F/K/SG ของสหรัฐอเมริกา (F-15K เป็นเวอร์ชั่นสำหรับเกาหลีใต้ และF-15SG เป็นเวอร์ชั่นสำหรับของ สิงคโปร)