ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบเผด็จการโดยเสียงข้างมาก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kuruni (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kuruni (คุย | ส่วนร่วม)
เอาข้อความที่เป็นความเห็นออก
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ไม่เป็นกลาง}}
{{ไม่เป็นกลาง}}


'''ทรราชเสียงข้างมาก''' หรือ '''ทรราชโดยเสียงส่วนใหญ่''' เป็นแบบคำวิจารณ์ถึง[[การปกครอง]]ภายใต้ระบอบ[[ประชาธิปไตย]]โดยระบุถึงสถานการณ์ที่เสียงส่วนใหญ่จะกระทำการต่าง ๆ โดยใช้ความชอบธรรมในฐานะเสียงส่วนใหญ่และไม่สนใจเสียงข้างน้อย การใช้เสียงส่วนใหญ่ลักษณะนี้เป็นเรื่องน่ากลัวมากและไม่ควรยึดถือรับเป็นหลักการของการตัดสินใจ<ref>เดโช สวนานนท์, พจนานุกรมศัพท์การเมือง, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์หน้าต่างสู่โลกกว้าง, 2545, หน้า 123</ref> นักวิชาการบางคนเรียก[[ระบอบทักษิณ]]ว่าเป็นทรราชเสียงข้างมาก<ref>รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์, พระผู้ทรงปกเกล้าฯ ประชาธิปไตย : ๖๐ ปีสิริราชสมบัติกับการเมืองการปกครองไทย, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549, หน้า 202</ref> เนื่องจากเป็นลักษณะการบริหารประเทศที่มีแนวโน้มรวบอำนาจแบบเบ็ดเสร็จ
'''ทรราชเสียงข้างมาก''' หรือ '''ทรราชโดยเสียงส่วนใหญ่''' เป็นแบบคำวิจารณ์ถึง[[การปกครอง]]ภายใต้ระบอบ[[ประชาธิปไตย]]โดยเปรียบเทียบถึงสถานการณ์ที่เสียงส่วนใหญ่จะกระทำการต่าง ๆ โดยใช้ความชอบธรรมในฐานะเสียงส่วนใหญ่และไม่สนใจเสียงข้างน้อยในลักษณะที่คล้ายกับระบอบ[[เผด็จการ]]<ref>John Stuart Mill. On Liberty, The Library of Liberal Arts edition, p.7. http://www.serendipity.li/jsmill/jsmill.htm</ref> นักวิชาการบางคนเรียก[[ระบอบทักษิณ]]ว่าเป็นทรราชเสียงข้างมาก<ref>รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์, พระผู้ทรงปกเกล้าฯ ประชาธิปไตย : ๖๐ ปีสิริราชสมบัติกับการเมืองการปกครองไทย, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549, หน้า 202</ref> เนื่องจากเป็นลักษณะการบริหารประเทศที่มีแนวโน้มรวบอำนาจแบบเบ็ดเสร็จ


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:49, 22 ตุลาคม 2551

ทรราชเสียงข้างมาก หรือ ทรราชโดยเสียงส่วนใหญ่ เป็นแบบคำวิจารณ์ถึงการปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไตยโดยเปรียบเทียบถึงสถานการณ์ที่เสียงส่วนใหญ่จะกระทำการต่าง ๆ โดยใช้ความชอบธรรมในฐานะเสียงส่วนใหญ่และไม่สนใจเสียงข้างน้อยในลักษณะที่คล้ายกับระบอบเผด็จการ[1] นักวิชาการบางคนเรียกระบอบทักษิณว่าเป็นทรราชเสียงข้างมาก[2] เนื่องจากเป็นลักษณะการบริหารประเทศที่มีแนวโน้มรวบอำนาจแบบเบ็ดเสร็จ

อ้างอิง

  1. John Stuart Mill. On Liberty, The Library of Liberal Arts edition, p.7. http://www.serendipity.li/jsmill/jsmill.htm
  2. รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์, พระผู้ทรงปกเกล้าฯ ประชาธิปไตย : ๖๐ ปีสิริราชสมบัติกับการเมืองการปกครองไทย, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549, หน้า 202