ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟังก์ชันคันทอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ฟังก์ชันคันทอร์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Cantor function) เป็น[[ฟังก์ชัน]]ทาง[[คณิตศาสตร์]]ซึ่งตั้งชื่อตามนักคณิตศาสตร์ [[เกออร์ก คันทอร์]] ได้แก่ฟังก์ชัน ''c'' : [0,1] → [0,1] ซึ่งนิยามโดย
'''ฟังก์ชันคันทอร์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Cantor function) เป็น[[ฟังก์ชัน]]ทาง[[คณิตศาสตร์]]ซึ่งตั้งชื่อตามนักคณิตศาสตร์ [[เกออร์ก คันทอร์]] ได้แก่ฟังก์ชัน ''c'' : [0,1] → [0,1] ซึ่งนิยามโดย
#เขียน ''x'' ให้อยู่ในรูป[[เลขฐานสาม]] ถ้าเป็นไปได้ไม่ใช้เลข 1 (มีผลเฉพาะเมื่อตัวเลขลงท้ายด้วย 022222... = 100000... หรือ 200000... = 122222...)
#เขียน ''x'' ให้อยู่ในรูป[[เลขฐานสาม]] ถ้าเป็นไปได้ไม่ใช้เลข 1 (มีผลเฉพาะเมื่อตัวเลขลงท้ายด้วย 022222... = 100000... หรือ 200000... = 122222...)
บรรทัด 10: บรรทัด 11:


กราฟของฟังก์ชันคันทอร์เขียนได้ดังนี้
กราฟของฟังก์ชันคันทอร์เขียนได้ดังนี้
[[Image:CantorFunction.png|600px|center]]
[[ภาพ:CantorFunction.png|600px|center]]


{{โครงคณิตศาสตร์}}


[[หมวดหมู่:แฟร็กทัล]]
[[หมวดหมู่:แฟร็กทัล]]
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีการวัด]]
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีการวัด]]
{{โครงคณิตศาสตร์}}


[[en:Cantor function]]
[[en:Cantor function]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:06, 12 มิถุนายน 2551

ฟังก์ชันคันทอร์ (อังกฤษ: Cantor function) เป็นฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ซึ่งตั้งชื่อตามนักคณิตศาสตร์ เกออร์ก คันทอร์ ได้แก่ฟังก์ชัน c : [0,1] → [0,1] ซึ่งนิยามโดย

  1. เขียน x ให้อยู่ในรูปเลขฐานสาม ถ้าเป็นไปได้ไม่ใช้เลข 1 (มีผลเฉพาะเมื่อตัวเลขลงท้ายด้วย 022222... = 100000... หรือ 200000... = 122222...)
  2. แทนที่เลข 1 ตัวแรกด้วยเลข 2 และตัวเลขที่อยู่ข้างหลังทุกตัวด้วย 0
  3. แทนที่เลข 2 ทุกตัวด้วยเลข 1
  4. ตีความผลลัพธ์เป็นเลขฐานสอง c(x)

ตัวอย่าง:

  • 1/4 เมื่อแปลงเป็นเลขฐานสามได้ 0.02020202... แต่ว่าไม่มีเลข 1 เลยขั้นต่อไปจึงยังเป็น 0.02020202... เขียนใหม่ได้ 0.01010101... ซึ่งเมื่อตีความเป็นเลขฐานสองคือ 1/3 ดังนั้น c(1/4) = 1/3
  • 1/5 เมื่อแปลงเป็นเลขฐานสามได้ 0.01210121... เปลี่ยนเลข 1 ตัวแรกเป็น 2 และที่เหลือเป็น 0 จะได้ 0.02000000... แทนที่ขั้นต่อไปได้ 0.01000000... เมื่อดูเป็นเลขฐานสองก็คือ 1/4 ดังนั้น c(1/5) = 1/4

กราฟของฟังก์ชันคันทอร์เขียนได้ดังนี้