ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 63: บรรทัด 63:


===ทีมที่ผ่านการคัดเลือกโดยไม่ต้องเข้าร่วมการแข่งขัน===
===ทีมที่ผ่านการคัดเลือกโดยไม่ต้องเข้าร่วมการแข่งขัน===
{| class="wikitable" style="text-align: center;" width=470
|-
!width=100|ทีม
!width=180|หมายเหตุ
|-
|style="text-align:left;"|{{vbw|JPN}}
|style="text-align:left;"|เจ้าภาพ
|-
|style="text-align:left;"|{{vbw|CHN}}
|style="text-align:left;"|ผ่านการคัดเลือกรอบคัดเลือกระหว่างทวีป
|}

== สนามแข่งขัน ==
== สนามแข่งขัน ==
{| class=wikitable style=text-align:center width=210
{| class=wikitable style=text-align:center width=210

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:42, 9 มกราคม 2563

วอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกรอบคัดเลือกโซนเอเชีย 2020
2020 Women's Asian Continental Olympic Qualification Tournament
รายละเอียด
ประเทศเจ้าภาพ ไทย
วันที่7–12 มกราคม 2020
ทีม8
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
ครั้งแรก

การแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกรอบคัดเลือกโซนเอเชีย 2020 เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลในทวีปเอเชียเพื่อคัดเลือกทีมวอลเลย์บอลหญิงเข้าแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ และสมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย โดยจะมีเพียงหนึ่งทีมที่ผ่านการคัดเลือกเข้าแข่งขันรอบสุดท้ายในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2020[1] จะมีกำหนดจัดขึ้นที่จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 7–12 มกราคม ค.ศ. 2020[2]

การคัดเลือก

ทีมที่มีสิทธิ์คัดเลือก

อันดับ ทีม
1 ธงชาติไทย ไทย
2 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
3 ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน
4 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป
5 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
6 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
7 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
8 ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง

ทีมที่ผ่านการคัดเลือกโดยไม่ต้องเข้าร่วมการแข่งขัน

สนามแข่งขัน

จังหวัดนครราชสีมา
โคราช ชาติชาย ฮอลล์
ความจุ: 5000 ที่นั่ง

การตัดสินลำดับจากผลการแข่งขัน

  1. จำนวนแมตช์ที่ชนะ
  2. คะแนน
    • แมตช์ที่ชนะด้วยผล 3–0 หรือ 3–1: ทีมที่ชนะจะได้ 3 คะแนน ส่วนทีมที่แพ้จะไม่ได้คะแนน
    • แมตช์ที่ชนะด้วยผล 3–2: ทีมที่ชนะจะได้ 2 คะแนน ส่วนทีมที่แพ้จะได้ 1 คะแนน
  3. ถ้าหากผลการแข่งขันเท่ากัน จะพิจารณาตามเกณฑ์ต่อไปนี้
    • อัตราส่วนเซตที่ชนะต่อแพ้
    • อัตราส่วนคะแนนที่ทำได้ในแมตช์ต่อคะแนนที่เสีย

การแบ่งกลุ่ม

การจับสลากแบ่งกลุ่มอาศัยอันดับจากวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2019 โดยเจ้าภาพและอีก 3 ทีมจะได้รับให้เป็นทีมวางของแต่ละกลุ่มโดยใช้วิธีสลับฟันปลา และอีก 3 ทีมที่เหลือได้ทำการจับฉลากในวันที่ 28 ตุลาคม ค.ศ. 2019 ณ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย[3] โดยตัวเลขในวงเล็บเป็นลำดับจากการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2019

กลุ่มเอ กลุ่มบี
ธงชาติไทย ไทย (เจ้าภาพ; 2) ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (3)
ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป (6) ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน (5)
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (9) ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน (7)
  ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย (8)

รอบแรก

  • เวลาการแข่งขันในท้องถิ่น UTC+07:00 (ตามเวลาประเทศไทย)
ผ่านเข้ารอบสู่รอบสุดท้าย

กลุ่มเอ

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติไทย ไทย 2 0 6 6 0 MAX 150 93 1.613
2 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 1 1 3 3 3 1.000 128 127 1.008
3 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 0 2 0 0 6 0.000 52 150 0.347
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
7 ม.ค. 18:00 ไทย ธงชาติไทย 3–0 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 25–16 25–21 25–16     75–53 Report
8 ม.ค. 18:00 ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย 0–3 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 20–25 18–25 14–25     52–75  
9 ม.ค. 18:00 ไทย ธงชาติไทย 3–0 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 25–12 25–15 25–13     75–40  

กลุ่มบี

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 0 9 9 0 MAX 225 137 1.642
2 ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน 2 1 6 6 3 2.000 207 182 1.137
3 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 1 2 2 3 8 0.375 210 249 0.843
4 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 0 3 1 2 9 0.222 186 260 0.715
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
7 ม.ค. 13:00 คาซัคสถาน ธงชาติคาซัคสถาน 3–0 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 25–14 25–16 25–14     75–44 P2
7 ม.ค. 15:30 เกาหลีใต้ ธงชาติเกาหลีใต้ 3–0 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 25–18 25–10 25–9     75–37 P2
8 ม.ค. 13:00 คาซัคสถาน ธงชาติคาซัคสถาน 3–0 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 25–22 25–23 25–18     75–63  
8 ม.ค. 15:30 เกาหลีใต้ ธงชาติเกาหลีใต้ 3–0 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 25–15 25–9 25–19     75–43  
9 ม.ค. 13:00 อินโดนีเซีย ธงชาติอินโดนีเซีย 3–2 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 25–21 25–15 21–25 24–26 15–12 110–99  
9 ม.ค. 15:30 เกาหลีใต้ ธงชาติเกาหลีใต้ 3–0 ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน 25–20 25–16 25–21     75–57  

รอบสุดท้าย

  รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
11 January
 ธงชาติไทย ไทย    
 ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน    
 
12 มกราคม
       
     
Third place
11 January 12 มกราคม
 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้      
 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป        

รอบรองชนะเลิศ

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
11 Jan 15:30 เกาหลีใต้ ธงชาติเกาหลีใต้ ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป      
11 Jan 18:00 ไทย ธงชาติไทย ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน      

รอบชิงอันดับที่ 3

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
12 ม.ค.            

รอบชิงชนะเลิศ

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
12 ม.ค.            

อันดับการแข่งขัน

อันดับ ทีม
1
2
3
4
5 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
6 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
7 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ผ่านการคัดเลือกเข้าแข่งขัน โอลิมปิกฤดูร้อน 2020

การถ่ายทอดสด

สำหรับรายการถ่ายทอดสดวอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 รอบคัดเลือกโซนเอเชียในประเทศไทย มีดังนี้

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "Qualification System – Games of the XXXII Olympiad – Tokyo 2020" (PDF). fivb.org. 23 September 2018.
  2. "OFFICIAL : ไม่ต้องรอนาน! FIVB ยืนยันไทย เจ้าภาพคัด อลป.เอเชีย". smmsport.com. สืบค้นเมื่อ 9 September 2019.
  3. "ดีเดย์ ! เลขาลูกยางเอเชียเผยวันจับสลากคัดโอลิมปิกโซนเอเชีย". smmsport.com. สืบค้นเมื่อ 26 ตุลาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น