ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบุกครองคูเวต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
หดเเื้มววงง
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
ต่อยกันตาย หรือที่รู้จักกันในนาม '''สงครามอิรัก–คูเวต''' เป็นความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลพรรคบาธของ[[ประเทศอิรัก]]กับ[[เอมิเรต]]แห่ง[[คูเวต]] อิรักสามารถยึดคูเวตได้อย่างง่ายดายและปกครองคูเวตอยู่ 7 เดือน จนกระทั่ง[[สหรัฐอเมริกา]]ภายใต้ประธานาธิบดี[[จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช]] ส่งกำลังทหารเข้าแทรกแทรงบานปลายเป็น[[สงครามอ่าวเปอร์เซีย]]
{{Infobox military conflict
|partof = [[สงครามอ่าวเปอร์เซีย]]
|image = [[ภาพ:Ku-map.png|265px]]
|caption = แผนที่คูเวต
|conflict = การบุกครองคูเวต
|date = 2–4 สิงหาคม ค.ศ. 1990
|place = [[คูเวต]]
|result = อิรักชนะอย่างขาดลอย
* คูเวตกลายเป็นรัฐหุ่นเชิดของอิรัก
* เกิดขบวนการต่อต้านอิรักในคูเวต<ref>{{cite episode|title=1997 Gulf War|episodelink=20th Century Battlefields#Episode 6: 1973 Middle East|series=Twentieth Century Battlefields|serieslink=20th Century Battlefields|credits= Presenters: [[Dan Snow|Dan]] and [[Peter Snow]]|network=[[BBC]]|station=[[BBC Two]]|airdate=2007|number=6 |season=1}}</ref>
* จุดชนวนสู่สงครามอ่าวเปอร์เซีย
|credits =
|combatant1 = {{Flagdeco|Iraq|1963}} [[อิรัก]]
|combatant2 = {{Flagdeco|Kuwait}} [[คูเวต]]
|commander1 = {{nowrap|{{Flagdeco|Iraq|1963}} [[ซัดดัม ฮุสเซน]]}}
|commander2 = {{Flagdeco|Kuwait}} [[เศาะบาห์ อัลอะห์มัด อัลญาบิร อัศเศาะบาห์|เศาะบาห์ที่ 3 แห่งคูเวต]]
|strength1 = ทหาร 88,000 นาย<ref>[http://www.mokatel.com/openshare/Behoth/IraqKwit/9/tab03.doc_cvt.htm Al Moquatel]</ref><ref>{{Cite news|title=1990: Iraq invades Kuwait |newspaper=BBC On This Day|publisher=BBC |url=http://news.bbc.co.uk/onthisday/hi/dates/stories/august/2/newsid_2526000/2526937.stm|accessdate=20 April 2010|date=2 August 1990}}</ref><ref>{{cite web|title=1990 The Invasion of Kuwait|last=Johns|first=Dave|date=24 January 2006|work=Frontline/World|publisher=[[Public Broadcasting Service|PBS]]|url=http://www.pbs.org/frontlineworld/stories/iraq501/events_kuwait.html|accessdate=20 April 2010}}</ref>
|strength2 = ทหาร 20,000 นาย<ref name="Library of Congress">{{cite journal|title=Kuwait Organization and Mission of the Forces|date=January 1993|journal=Country Studies|publisher=Library of Congress|url=http://lcweb2.loc.gov/cgi-bin/query/r?frd/cstdy:@field(DOCID+kw0058)|accessdate=20 April 2010}}</ref>
|casualties1 = 39 อากาศยาน (est.).<br />295 ผู้ตาย <br>361 ผู้บาดเจ็บ<br />≈120 รถถังและรถหุ้มเกราะ<ref>"سير العمليات العسكرية للغزو العراقي للكويت", Al Moqatel</ref><br>4 เรืออัปปาง
|casualties2 = 57 อากาศยาน<ref>House of Lords Judgments – Kuwait Airways Corporation v Iraqi Airways Company and Others on 16 May2002, [2002] UKHL 19</ref><br />4,200 ตายในหน้าที่<ref name="airCombatInformationGroup"/><br />12,000 เชลย<br />≈200 รถถังถูกทำลาย/ยึด<br>850+ รถหุ้มเกราะถูกทำลาย/ยึด<ref>{{cite web|url=http://www.globalsecurity.org/military/world/iraq/ground-equipment-intro.htm|title=Iraqi Ground Forces Equipment|author=John Pike|publisher=|accessdate=19 December 2014}}</ref><ref>''Jane's Armour and Artillery 2003–2004''</ref><ref>''Armies of the Gulf War'', Gordon L. Rottman, 1993, p.48,49</ref><ref>Tanki v operacii "Shok i trepet", Aleksei Brusilov, Leonid Karyakin, Tankomaster 2003–08(Russian: Танки в операции «Шок и трепет», Алексей Брусилов, Леонид Карякин, Танкомастер 2003–08)</ref><br>17 เรือรบอัปปาง 6 เรือรบถูกยึด<ref>سير العمليات العسكرية للغزو العراقي للكويت, Al Moqatel</ref><ref>{{cite web|url=http://www.gulflink.osd.mil/declassdocs/dia/19981113/0000001.html|title=IRAQ: NAVAL THREAT TO US FORCES.|publisher=|accessdate=19 December 2014}}</ref><ref>المبحث الرابع, إعادة بناء القوات المسلحة لكل من دول مجلس التعاون الخليجي، بعد الحرب, Al Moquatel</ref>
}}
'''การบุกครองคูเวต''' หรือที่รู้จักกันในนาม '''สงครามอิรัก–คูเวต''' เป็นความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลพรรคบาธของ[[ประเทศอิรัก]]กับ[[เอมิเรต]]แห่ง[[คูเวต]] อิรักสามารถยึดคูเวตได้อย่างง่ายดายและปกครองคูเวตอยู่ 7 เดือน จนกระทั่ง[[สหรัฐอเมริกา]]ภายใต้ประธานาธิบดี[[จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช]] ส่งกำลังทหารเข้าแทรกแทรงบานปลายเป็น[[สงครามอ่าวเปอร์เซีย]]


ในปี 1990 อิรักได้กล่าวหาคูเวตว่า คูเวตได้ขโมยน้ำมันของอิรักโดยการขุดเจาะน้ำมันแบบเฉียงเข้ามาใต้ดินแดนอิรัก ในขณะที่แหล่งข่าวในอิรักบางแห่งกล่าวอ้างว่า แผนโจมตีคูเวตถูกตัดสินใจโดยประธานาธิบดี [[ซัดดัม ฮุสเซน]] เพียงเดือนสองเดือนก่อนหน้าเท่านั้น<ref name="fawcett">{{cite book|last=Gause|first=F. Gregory, III|chapter=The International Politics of the Gulf|title=International Relations of the Middle East|editor=Louise Fawcett|publisher=Oxford: The University Press|year=2005|isbn=0-19-926963-7|pages=263–274}}</ref> บางความเห็นก็ว่าการโจมตีครั้งนี้ เหตุผลส่วนหนึ่งมาจากการที่รัฐบาลอิรักเป็นหนี้คูเวตอยู่กว่า 14 พันล้านดอลลาร์สหรัฐจากการกู้มาใช้จ่ายในช่วง[[สงครามอิรัก-อิหร่าน]] และหลังสงครามครั้งนั้น คูเวตก็ได้ผลิตน้ำมันออกสู่ตลาดจำนวนมหาศาลส่งผลให้ราคาน้ำมันตกต่ำ ทำให้อิรักไม่มีรายได้มากพอจะมาชำระหนี้ก้อนนี้<ref name="airCombatInformationGroup">{{cite journal|last=Cooper |first=Tom |last2=Sadik |first2=Ahmad |title=Iraqi Invasion of Kuwait; 1990 |date=16 September 2003 |journal=Air Combat Information Group Journal |url=http://www.acig.org/artman/publish/article_213.shtml |accessdate=31 December 2015 |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/20141006231817/http://www.acig.org:80/artman/publish/article_213.shtml |archivedate=6 October 2014 }}</ref>
ในปี 1990 อิรักได้กล่าวหาคูเวตว่า คูเวตได้ขโมยน้ำมันของอิรักโดยการขุดเจาะน้ำมันแบบเฉียงเข้ามาใต้ดินแดนอิรัก ในขณะที่แหล่งข่าวในอิรักบางแห่งกล่าวอ้างว่า แผนโจมตีคูเวตถูกตัดสินใจโดยประธานาธิบดี [[ซัดดัม ฮุสเซน]] เพียงเดือนสองเดือนก่อนหน้าเท่านั้น<ref name="fawcett">{{cite book|last=Gause|first=F. Gregory, III|chapter=The International Politics of the Gulf|title=International Relations of the Middle East|editor=Louise Fawcett|publisher=Oxford: The University Press|year=2005|isbn=0-19-926963-7|pages=263–274}}</ref> บางความเห็นก็ว่าการโจมตีครั้งนี้ เหตุผลส่วนหนึ่งมาจากการที่รัฐบาลอิรักเป็นหนี้คูเวตอยู่กว่า 14 พันล้านดอลลาร์สหรัฐจากการกู้มาใช้จ่ายในช่วง[[สงครามอิรัก-อิหร่าน]] และหลังสงครามครั้งนั้น คูเวตก็ได้ผลิตน้ำมันออกสู่ตลาดจำนวนมหาศาลส่งผลให้ราคาน้ำมันตกต่ำ ทำให้อิรักไม่มีรายได้มากพอจะมาชำระหนี้ก้อนนี้<ref name="airCombatInformationGroup">{{cite journal|last=Cooper |first=Tom |last2=Sadik |first2=Ahmad |title=Iraqi Invasion of Kuwait; 1990 |date=16 September 2003 |journal=Air Combat Information Group Journal |url=http://www.acig.org/artman/publish/article_213.shtml |accessdate=31 December 2015 |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/20141006231817/http://www.acig.org:80/artman/publish/article_213.shtml |archivedate=6 October 2014 }}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:59, 5 ธันวาคม 2562

ต่อยกันตาย หรือที่รู้จักกันในนาม สงครามอิรัก–คูเวต เป็นความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลพรรคบาธของประเทศอิรักกับเอมิเรตแห่งคูเวต อิรักสามารถยึดคูเวตได้อย่างง่ายดายและปกครองคูเวตอยู่ 7 เดือน จนกระทั่งสหรัฐอเมริกาภายใต้ประธานาธิบดีจอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช ส่งกำลังทหารเข้าแทรกแทรงบานปลายเป็นสงครามอ่าวเปอร์เซีย

ในปี 1990 อิรักได้กล่าวหาคูเวตว่า คูเวตได้ขโมยน้ำมันของอิรักโดยการขุดเจาะน้ำมันแบบเฉียงเข้ามาใต้ดินแดนอิรัก ในขณะที่แหล่งข่าวในอิรักบางแห่งกล่าวอ้างว่า แผนโจมตีคูเวตถูกตัดสินใจโดยประธานาธิบดี ซัดดัม ฮุสเซน เพียงเดือนสองเดือนก่อนหน้าเท่านั้น[1] บางความเห็นก็ว่าการโจมตีครั้งนี้ เหตุผลส่วนหนึ่งมาจากการที่รัฐบาลอิรักเป็นหนี้คูเวตอยู่กว่า 14 พันล้านดอลลาร์สหรัฐจากการกู้มาใช้จ่ายในช่วงสงครามอิรัก-อิหร่าน และหลังสงครามครั้งนั้น คูเวตก็ได้ผลิตน้ำมันออกสู่ตลาดจำนวนมหาศาลส่งผลให้ราคาน้ำมันตกต่ำ ทำให้อิรักไม่มีรายได้มากพอจะมาชำระหนี้ก้อนนี้[2]

การบุกครองคูเวตเริ่มขึ้นในเวลาตีสองของวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 เนื่องจากกำลังทหารที่มากกว่าประกอบกับมีอาวุธยุทโธปกรณ์ทันสมัยจากการสนับสนุนของชาติตะวันตกในช่วงสงครามอิรัก-อิหร่าน ทำให้อิรักใช้เวลาเพียงสองวันในการบุกครองคูเวต กำลังทหารส่วนใหญ่ของคูเวตก็ต้องล่าถอยไปยังซาอุดีอาระเบียและบาห์เรนซึ่งเป็นประเทศเพื่อนบ้าน คูเวตถูกผนวกดินแดนเข้ากับอิรัก โดยซัดดัม ฮุสเซน ได้ออกมาประกาศไม่กี่วันให้หลังว่าคูเวตเป็นจังหวัดที่ 19 ของอิรัก ซัดดัม ฮุสเซนได้แต่งตั้งให้ อัลลาอา ฮุสเซน อาลี เป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐบาลหุ่นเชิดในคูเวต และตั้ง อาลี ฮัสซัน อัลมาจิด เป็นผู้ว่าการคูเวตโดยพฤตินัย

พระราชวงศ์คูเวตที่อยู่ระหว่างลี้ภัยก็ออกมาเรียกร้องให้นานาชาติกดดันให้อิรักออกไปจากคูเวต คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติได้มีมติจำนวน 12 เรื่อง ให้ทหารอิรักถอนกำลังออกจากคูเวตในทันทีและโดยไม่มีเงื่อนไข แต่ก็ไม่ได้รับการตอบสนอง[3] ในระหว่างการบุกครองนั้น ชาวคูเวตกว่าสี่แสนคนและชาวต่างชาติในคูเวตกว่าหลายพันคนต้องหนีออกนอกประเทศ ตลอดช่วงเวลาเจ็ดเดือนที่อิรักปกครองคูเวต รัฐบาลซัดดัม ฮุสเซนได้แย่งชิงความมั่งคั่งของคูเวตไปมหาศาล นอกจากนี้ยังมีรายงานการละเมิดสิทธิมนุษยชนด้วย[4]

มหาอำนาจของโลกต่างประณามการบุกครองครั้งนี้อย่างร้ายแรง แม้กระทั่งประเทศที่มีความใกล้ชิดกับอิรักอย่างฝรั่งเศสและอินเดียก็ออกมาเรียกร้องให้อิรักถอนกำลังจากคูเวตในทันที บางประเทศอย่างสหภาพโซเวียตและจีนได้งดจำหน่ายยุทธภัณฑ์แก่อิรัก นาโตได้มีการประชุมประเด็นนี้ในปลายปี 1990 โดยสหรัฐอเมริกาได้นำแถลงยื่นเส้นตายต่อรัฐบาลอิรัก ให้อิรักถอนกำลังจากคูเวตภายใน 15 มกราคม ค.ศ. 1991 แต่การเจรจาไม่เป็นผล ฉะนั้นกองกำลังสัมพันธมิตรที่นำโดยสหรัฐอเมริกาได้เริ่มโจมตีอิรักอย่างหนักหน่วง และเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามอ่าวเปอร์เซีย

อ้างอิง

  1. Gause, F. Gregory, III (2005). "The International Politics of the Gulf". ใน Louise Fawcett (บ.ก.). International Relations of the Middle East. Oxford: The University Press. pp. 263–274. ISBN 0-19-926963-7.
  2. Cooper, Tom; Sadik, Ahmad (16 September 2003). "Iraqi Invasion of Kuwait; 1990". Air Combat Information Group Journal. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 October 2014. สืบค้นเมื่อ 31 December 2015. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  3. Iraq. GlobalSecurity.org.
  4. State of Kuwait. Atlapedia.com. Retrieved on 2011-06-12.