ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซลล์ (ชีววิทยา)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PointlessUsername (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8353115 สร้างโดย 110.78.141.207 (พูดคุย) ก่อกวน
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ข้อความแก้กำกวม|เซลล์|เซลล์}}
[[ไฟล์:Epithelial-cells.jpg|right|thumb|160px]]{{ข้อความแก้กำกวม|เซลล์|เซลล์}}


<br />
[[ไฟล์:Epithelial-cells.jpg|right|thumb|160px|เซลล์ในจานเพาะเชื้อ ซึ่งถูกย้อมสีไว้ให้เห็น[[คีราติน]] (สีแดง) และ [[ดีเอ็นเอ]] (สีเขียว)]]


ในทาง[[ชีววิทยา]] '''เซลล์''' ({{lang-en|Cell}}) เป็นโครงสร้างและหน่วยทำงานที่เล็กที่สุดของ[[สิ่งมีชีวิต]]แทบทุกชนิด ในบางครั้งอาจเรียกว่า ''หน่วยที่เป็นองค์ประกอบของชีวิต'' ("building blocks of life") สิ่งมีชีวิตบางชนิดเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (unicellular organism) เช่น [[แบคทีเรีย]] [[ยีสต์]] แต่สิ่งมีชีวิตชนิดอื่น เช่น [[พืช]] [[สัตว์]] เป็น[[สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์]] (multicellular organism) (มนุษย์มีเซลล์อยู่ประมาณ 100 ล้านล้าน หรือ 10<sup>14</sup> เซลล์)

[[ทฤษฎีเซลล์]]ถูกพัฒนาขึ้นครั้งแรกในปี [[พ.ศ. 2382]] (ค.ศ. 1839) โดย[[แมตเทียส จาคอบ ชไลเดน]] (Matthias Jakob Schleiden) และ [[ทีโอดอร์ ชวานน์]] (Theodor Schwann) ได้อธิบายว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหมดประกอบด้วยเซลล์หนึ่งเซลล์หรือมากกว่า เซลล์ทั้งหมดมีกำเนิดมาจากเซลล์ที่มีมาก่อน (preexisting cells) ระบบการทำงานเพื่อความอยู่รอดของสิ่งที่มีชีวิตทั้งหมดเกิดขึ้นภายในเซลล์ และภายในเซลล์ยังประกอบด้วย[[สารพันธุกรรม|ข้อมูลทางพันธุกรรม]] (hereditary information) ซึ่งจำเป็นสำหรับการควบคุมการทำงานของเซลล์ และการส่งต่อข้อมูลทางพันธุกรรมไปยังเซลล์รุ่นต่อไป

คำว่า ''เซลล์'' มาจาก[[ภาษาละติน]]ที่ว่า ''cella'' ซึ่งมีความหมายว่า ห้องเล็ก ๆ ผู้ตั้งชื่อนี้คือ[[โรเบิร์ต ฮุก]] (Robert Hooke) เมื่อเขาเปรียบเทียบเซลล์ของไม้คอร์กเหมือนกับห้องเล็ก ๆ ซึ่งเป็นที่อยู่ของพระ

== ทั่วไป ==
=== คุณสมบัติของเซลล์ ===
[[ไฟล์:Cellsize.jpg|thumb|right|190px|เซลล์ของหนูในจานเพาะเชื้อ เซลล์เหล่านี้กำลังขยายขนาดใหญ่ขึ้น แต่ละเซลล์มีขนาดประมาณ 10 [[โมโครเมตร]]]]

แต่ละเซลล์มีองค์ประกอบและดำรงชีวิตได้ด้วยตัวของมันเอง โดยการนำสารอาหารเข้าไปในเซลล์และเปลี่ยนสารอาหารให้กลายเป็นพลังงานเพื่อการดำรงชีวิตและการสืบพันธุ์ เซลล์มีความสามารถหลายอย่างดังนี้:
* เพิ่มจำนวนโดย[[การแบ่งเซลล์]]
* [[เมแทบอลิซึม]]ของเซลล์ (cell metabolism) ประกอบด้วย การลำเลียงวัตถุดิบเข้าเซลล์,การสร้างส่วนประกอบของเซลล์,การสร้าง[[พลังงาน]]และ[[โมเลกุล]]และปล่อย[[ผลิตภัณฑ์]]ออกมา การทำงานของเซลล์ขึ้นกับความสามารถในการสกัดและใช้พลังงานเคมีที่สะสมในโมเลกุลของสารอินทรีย์ พลังงานเหล่านี้จะได้จาก[[วิถีเมแทบอลิซึม]] (metabolic pathway)
* [[การสังเคราะห์โปรตีน]]เพื่อใช้ในระบบการทำงานของเซลล์ เช่น [[เอนไซม์]] โดยเฉพาะเซลล์ของ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]จะมี[[โปรตีน]]ต่าง ๆ ถึง 10,000 ชนิด
* ตอบสนองต่อ[[สิ่งกระตุ้น]]ทั้งภายนอกและภายใน เช่น การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ [[pH]] หรือระดับอาหาร.
* [[การขนส่ง]]ของ[[เวสิเคิล]] (vesicle)

=== ประเภทของเซลล์ ===
[[ไฟล์:celltypes.png|thumbnail|330px|'''ภาพเปรียบเทียบเซลล์ยูแคริโอต (eukaryotes) และเซลล์โพรแคริโอต (prokaryotes) ''' - รูปนี้แสดงเซลล์มนุษย์ (ยูแคริตโอต) และ เซลล์แบคทีเรีย (โพรแคริโอต) ด้านซ้ายแสดงโครงสร้างภายในของเซลล์ยูแคริโอต ซึ่งประกอบด้วย นิวเคลียส (''สีฟ้า'') , นิวคลีโอลัส (''สีน้ำเงิน'') , ไมโทคอนเดรีย (''สีส้ม'') , และไรโบโซม (''สีน้ำเงินเข้ม'') รูปทางขวาแสดงดีเอ็นเอของแบคทีเรีย ที่อยู่ในโครงสร้างที่เรียกว่า นิวคลิออยด์ (''สีฟ้าอ่อน'') และโครงสร้างอื่น ๆ ที่พบในเซลล์[[โพรแคริโอต]] ซึ่งประกอบด้วย เยื่อหุ้มเซลล์ (''สีดำ'') , ผนังเซลล์ (''สีน้ำเงิน'') , แคปซูล (''สีส้ม'') , ไรโบโซม (''สีน้ำเงินเข้ม'') , แฟลกเจลลัม (''สีดำ'')]]

วิธีการจัดกลุ่มเซลล์ไม่ว่าเซลล์นั้นจะอยู่ตามลำพังหรืออยู่เป็นกลุ่ม ได้แก่ [[สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว]] (unicellular) ซึ่งดำรงชีวิตเพื่อความอยู่รอด จนไปถึงการอยู่รวมกันเป็นกลุ่มที่เรียกว่า โคโลนี (''colonial forms'') หรือ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular) ซึ่งเซลล์เหล่านี้จะกลายเป็นเซลล์เฉพาะทางที่แตกต่างกันหลายรูปแบบ เช่น เซลล์ต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์

โดยสรุป เซลล์สามารถแบ่งได้เป็น 2 รูปแบบคือ

* '''[[โพรแคริโอต]]''' (prokaryote) เป็นเซลล์ที่มีโครงสร้างอย่างง่าย อาจอยู่เป็นเซลล์เดี่ยว ๆ หรือรวมกลุ่มเป็น[[โคโลนี]] (Colony) ใน[[การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์]]แบบระบบสามโดเมน (three-domain system) ได้จัดโพรแคริโอตอยู่ในโดเมน[[อาร์เคีย]] (Archaea) และ[[แบคทีเรีย]] (Eubacteria)

* '''[[ยูแคริโอต]]''' (eukaryote) เป็นเซลล์ที่มี[[ออร์แกเนลล์]] (organelle) และผนังของออร์แกเนลล์ มีตั้งแต่เซลล์เดียวเช่น [[อะมีบา]] (amoeba) และ[[เห็ดรา]] (fungi) หรือเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่นพืชและสัตว์รวมทั้ง[[สาหร่ายสีน้ำตาล]]

== ส่วนประกอบย่อยของเซลล์ ==
[[ไฟล์:biological_cell.svg|thumb|330px|ภาพเซลล์โดยสัตว์ทั่วไป ประกอบด้วย[[ออร์แกเนลล์]]ต่าง ๆ ดังนี้ (1) [[นิวคลีโอลัส]], (2) [[นิวเคลียสเซลล์|นิวเคลียส]], (3) [[ไรโบโซม]], (4) [[เวสิเคิล]], (5) [[เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ]], (6) [[กอลจิแอปพาราตัส]], (7) [[ระบบเส้นใยของเซลล์]], (8) [[เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ]], (9) [[ไมโทคอนเดรีย]], (10) [[แวคิวโอล]], (11) [[ไซโทพลาซึม]], (12) [[ไลโซโซม]], (13) [[เซนทริโอล]]]]
[[ไฟล์:biological_cell.svg|thumb|330px|ภาพเซลล์โดยสัตว์ทั่วไป ประกอบด้วย[[ออร์แกเนลล์]]ต่าง ๆ ดังนี้ (1) [[นิวคลีโอลัส]], (2) [[นิวเคลียสเซลล์|นิวเคลียส]], (3) [[ไรโบโซม]], (4) [[เวสิเคิล]], (5) [[เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ]], (6) [[กอลจิแอปพาราตัส]], (7) [[ระบบเส้นใยของเซลล์]], (8) [[เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ]], (9) [[ไมโทคอนเดรีย]], (10) [[แวคิวโอล]], (11) [[ไซโทพลาซึม]], (12) [[ไลโซโซม]], (13) [[เซนทริโอล]]]]


บรรทัด 39: บรรทัด 10:


=== เยื่อหุ้มเซลล์ - ส่วนหุ้มและปกป้องเซลล์ ===
=== เยื่อหุ้มเซลล์ - ส่วนหุ้มและปกป้องเซลล์ ===
[[ไซโทพลาซึม]]ของเซลล์ประเภท[[ยูแคริโอต]]จะถูกห้อมล้อมด้วยส่วนที่เรียกว่า [[เยื่อหุ้มเซลล์]] หรือ [[พลาสมา เมมเบรน]] (plasma membrane) พลาสมาเมมเบรนจะพบในเซลล์ประเภทโพรแคริโอตด้วย เยื่อนี้จะทำหน้าที่แยกและปกป้องเซลล์จากสิ่งแวดล้อมรอบข้าง ส่วนใหญ่แล้วถูกสร้างขึ้นจากชั้นของลิพิดสองชั้น หรือ ฟอสโฟลิพิด ไบแลร์ (Phospholipid bilayer) และโปรตีน ภายในเยื่อจะมีโมเลกุลหลากชนิดที่ทำหน้าที่เป็นทั้งช่องทางผ่านของสารและ ปั๊ม (channels and pumps) เพื่อทำหน้าที่เฉพาะในการขนส่ง[[โมเลกุล]]เข้าหรือออกจากเซลล์
[[ไซโทพลาซึม]] นี้จะทำหน้าที่แยกและปกป้องเซลล์จากสิ่งแวดล้อมรอบข้าง ส่วนใหญ่แล้วถูกสร้างขึ้นจากชั้นของลิพิดสองชั้น หรือ ฟอสโฟลิพิด ไบแลร์ (Phospholipid bilayer) และโปรตีน ภายในเยื่อจะมีโมเลกุลหลากชนิดที่ทำหน้าที่เป็นทั้งช่องทางผ่านของสารและ ปั๊ม (channels and pumps) เพื่อทำหน้าที่เฉพาะในการขนส่ง[[โมเลกุล]]เข้าหรือออกจากเซลล์


=== [[ไซโทสเกเลตอน]] (cytoskeleton) - ส่วนที่เป็นโครงสร้างของเซลล์ ===
=== [[ไซโทสเกเลตอน]] (cytoskeleton) - ส่วนที่เป็นโครงสร้างของเซลล์ ===
บรรทัด 85: บรรทัด 56:
!อาร์เอ็นเอ/การสังเคราะห์โปรตีน
!อาร์เอ็นเอ/การสังเคราะห์โปรตีน
|ทั้งคู่เกิดใน[[ไซโทพลาซึม]]
|ทั้งคู่เกิดใน[[ไซโทพลาซึม]]
|
|อาร์เอ็นเอ-สังเคราะขึ้นภายในนิวเคลียส<br />สังเคราะห์โปรตีนในไซโตพลาสซึม
|-
|-
!ขนาด[[ไรโบโซม]]
!ขนาด[[ไรโบโซม]]
บรรทัด 117: บรรทัด 88:


{| align="center" class="toccolours" border="1" style="border:1px solid gray; border-collapse:collapse;"
{| align="center" class="toccolours" border="1" style="border:1px solid gray; border-collapse:collapse;"
|+ '''ร'''
|+'''ตาราง 2: การเปรียบเทียบโครงสร้างของ เซลล์พืช และ เซลล์สัตว์'''
|-
|-
|
|
!
![[เซลล์สัตว์]]
!
![[เซลล์พืช]]
|- valign="top"
|- valign="top"
!
!ออร์แกเนลล์ (Organelles)
|
|
* [[นิวเคลียสเซลล์|นิวเคลียส]] (Nucleus)
** [[นิวคลีโอลัส]] (Nucleolus in nucleus)
* [[เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม]] (Endoplasmic reticulum)
** [[เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ]] (Rough endoplasmic reticulum)
** [[เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ]] (Smooth endoplasmic reticulum)
* [[ไรโบโซม]] (Ribosome)
* [[ไซโทสเกเลตอน]] (Cytoskeleton)
* [[กอลจิแอปพาราตัส]] (Golgi apparatus)
* [[ไซโทพลาซึม]] (Cytoplasm)
* [[ไมโทคอนเดรีย]] (Mitochondria)
* [[เวสิเคิล]] (Vesicle)
* [[แวคิวโอล]] (Vacuole)
* [[ไลโซโซม]] (Lysosome)
* [[เซนทริโอล]] (Centriole)
|
|
* [[นิวเคลียสเซลล์|นิวเคลียส]] (Nucleus)
** [[นิวคลีโอลัส]]ในนิวเคลียส (Nucleolus in nucleus)
* [[เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม]] (Endoplasmic reticulum)
** [[เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ]] (Rough endoplasmic reticulum)
** [[เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ]] (Smooth endoplasmic reticulum)
* [[ไรโบโซม]] (Ribosomes)
* [[ไซโทสเกเลตอน]] (Cytoskeleton)
* [[กอลจิแอปพาราตัส]] หรือ [[ดิกไทโอโซม]] (dictiosomes)
* [[ไซโทพลาซึม]] (Cytoplasm)
* [[ไมโทคอนเดรีย]] (Mitochondria)
* [[เวสิเคิล]] (Vesicle)
* [[คลอโรพลาสต์]] (Chloroplast) และ [[พลาสติด]] (plastid)
* [[แวคิวโอล]] (Central vacuole)
** [[โทโนพลาสต์]] (Tonoplast-central vacuole membrane)
* [[เพอรอกซิโซม]] (Peroxisome)
* [[ไกลออกซิโซม]] (Glyoxysome)
|- valign="top"
|- valign="top"
!
!
|
|
* [[ซิเลีย]] (Cilium)
* [[แฟลเจลลัม]] (Flagellum)
* [[พลาสมา เมมเบรน]] (Plasma membrane)
|
|
* [[พลาสมา เมมเบรน]] (Plasma membrane)
* [[ผนังเซลล์]] (Cell wall)
* [[พลาสโมเดสมาตา]] (Plasmodesmata)
* [[แฟลเจลลัม]]ในเซลล์สืบพันธุ์ (Flagellum in gametes)
|}
|}


*
== วัฏจักรของเซลล์ ==

วัฏจักรของเซลล์หนึ่ง ๆ จะเริ่มจากการเจริญสะสมสารอาหารและทำกิจกรรมต่าง ๆ จนถึงระยะหนึ่งก็จะแบ่งตัวเพือสร้างเซลล์ใหม่ไปเรื่อย ๆ ในเซลล์[[ยูคาริโอต]]นั้น วัฏจักรของเซลล์มี 4 ระยะที่ชัดเจน คือ
* G1 เป็นช่วงหลังจากเซลล์ผ่านการแบ่งตัวมาใหม่ จนถึงเตรียมการจะแบ่งตัวอีกครั้ง เป็นช่วงที่เซลล์มีกิจกรรมมาก
* S เป็นช่วงเวลาที่มีการจำลองตัวของ DNA เพิ่มจาก 1 ชุดเป็น 2 ชุด เพื่อเตรียมสารพันธุกรรมไว้ให้เซลล์ใหม่ต่อไป
* G2 เป็นช่วงเวลาหลังจากจำลอง DNA เสร็จแล้ว รอการแบ่งเซลล์ต่อไป
* M เป็นช่วงเวลาที่มีการแบ่งเซลล์แบบ[[ไมโทซิส]] ซึ่งเมื่อแบ่งตัวเสร็จแล้วจะได้เซลล์ลูก 2 เซลล์ ซึ่งมีสารพันธุกรรมเหมือนเซลล์ตั้งต้นทุกประการ
ในเซลล์ที่ผิดปรกติหรือเซลล์บางชนิดเช่นเซลล์ประสาทจะเข้าไปในระยะ G0 ซึ่งเป็นช่วงที่เซลล์จะไม่มีการแบ่งเซลล์อีกและจะไม่สามารถอกกจากระยะนี้ได้
ซึ่งถ้าเป็นเซลล์ที่ผิดปรกติจะถูกทิ้งให้ตาย

== อ้างอิง ==
{{คอมมอนส์|Cell (biology) }}
* [http://www.ericdigests.org/2004-1/cells.htm Teaching about the Life and Health of Cells.]
* [http://www.biopic.co.uk/cellcity/cell.htm The cell like a city].

{{ออร์แกเนลล์}}
{{องค์ประกอบของสสาร}}


[[หมวดหมู่:เซลล์| ]]
[[หมวดหมู่:เซลล์| ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:07, 14 กรกฎาคม 2562


ภาพเซลล์โดยสัตว์ทั่วไป ประกอบด้วยออร์แกเนลล์ต่าง ๆ ดังนี้ (1) นิวคลีโอลัส, (2) นิวเคลียส, (3) ไรโบโซม, (4) เวสิเคิล, (5) เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ, (6) กอลจิแอปพาราตัส, (7) ระบบเส้นใยของเซลล์, (8) เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ, (9) ไมโทคอนเดรีย, (10) แวคิวโอล, (11) ไซโทพลาซึม, (12) ไลโซโซม, (13) เซนทริโอล
ภาพเซลล์พืชทั่วไป แสดงส่วนประกอบย่อยของเซลล์ (ดูตาราง 2 แสดงการเปรียบเทียบระหว่างเซลล์พืชและสัตว์)

เซลล์ทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นโพรแคริโอตหรือยูแคริโอตจะต้องมีเยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane) ทำหน้าที่ห่อหุ้มเซลล์เสมอ เพื่อแยกส่วนประกอบภายในเซลล์ออกจากสิ่งแวดล้อม เป็นการควบคุมการขนส่งสารเข้าออกเซลล์ และเพื่อรักษาความต่างศักย์ทางไฟฟ้าของเซลล์ (cell potential) ภายในเยื่อหุ้มเซลล์จะประกอบไปด้วย ไซโทพลาซึมที่มีสภาพเป็นเกลือ และเป็นเนื้อที่ส่วนใหญ่ของเซลล์ ภายในเซลล์จะมี ดีเอ็นเอ หน่วยพันธุกรรมของเซลล์หรือยีน และ อาร์เอ็นเอชึ่งจะมีข้อมูลที่จำเป็นในการถ่ายทอดพันธุกรรม รวมทั้งโปรตีนต่าง ๆ เช่น เอนไซม์ นอกจากนี้ภายในเซลล์ก็ยังมีสารชีวโมเลกุล (biomolecule) ชนิดต่าง ๆ อีกมากมาย

เยื่อหุ้มเซลล์ - ส่วนหุ้มและปกป้องเซลล์

ไซโทพลาซึม อนี้จะทำหน้าที่แยกและปกป้องเซลล์จากสิ่งแวดล้อมรอบข้าง ส่วนใหญ่แล้วถูกสร้างขึ้นจากชั้นของลิพิดสองชั้น หรือ ฟอสโฟลิพิด ไบแลร์ (Phospholipid bilayer) และโปรตีน ภายในเยื่อจะมีโมเลกุลหลากชนิดที่ทำหน้าที่เป็นทั้งช่องทางผ่านของสารและ ปั๊ม (channels and pumps) เพื่อทำหน้าที่เฉพาะในการขนส่งโมเลกุลเข้าหรือออกจากเซลล์

ไซโทสเกเลตอน (cytoskeleton) - ส่วนที่เป็นโครงสร้างของเซลล์

ไซโทสเกเลตอนเป็นโครงสร้างที่สำคัญ ซับซ้อน และเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มีบทบาทในการจัดรูปแบบและจัดเรียงตำแหน่งของออร์แกเนลล์ให้อยู่ในที่ที่เหมาะสม, ช่วยให้เกิดกระบวนการเอนโดไซโทซิส (endocytosis) หรือการนำสารจากภายนอกเซลล์เข้ามาในเซลล์เพื่อใช้ในกระบวนการเจริญเติบโตและการเคลื่อนไหว, บทบาทในการทำงานของกล้ามเนื้อ, และมีโปรตีนจำนวนมากมายในไซโทสเกลเลตอนที่ควบคุมโครงสร้างของเซลล์

ไซโทสเกเลตอน แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดตามขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ได้แก่ ไมโครทูบูล (Microtubule) , อินเทอร์มีเดียท ฟิลาเมนท์ (Intermediate Filament) และ ไมโครฟิลาเมนท์ (Microfilament)

สารพันธุกรรม (Genetic Material)

สารพันธุกรรมแตกต่างกันสองชนิดคือ :

รหัสพันธุกรรม (Genetic code) ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเป็นข้อมูลทางพันธุกรรมของเซลล์ซึ่งเก็บอยู่ในรูปดีเอ็นเอหรืออาร์เอ็นเอ สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ใช้ดีเอ็นเอสำหรับเก็บข้อมูลทางพันธุกรรม แต่ไวรัสบางชนิด เช่น รีโทรไวรัส (retrovirus) มีอาร์เอ็นเอเป็นสารพันธุกรรม อาร์เอ็นเอนอกจากจะเป็นสารพันธุกรรมแล้วยังทำหน้าที่เป็นสารที่ขนถ่ายข้อมูลด้วย ได้แก่ เมสเซนเจอร์ อาร์เอ็นเอ (mRNA) และอาจทำหน้าที่เป็นเอนไซม์ได้โดยเฉพาะในเซลล์ที่มีอาร์เอ็นเอเป็นสารพันธุกรรม ได้แก่ ไรโบโซมัล อาร์เอ็นเอ หรือ (rRNA)

สารพันธุกรรมของพวกโปรคาริโอต จะถูกจัดอยู่ในโมเลกุลของดีเอ็นเอรูปวงกลมง่าย ๆ เช่น ดีเอ็นเอของแบคทีเรียซึ่งอยู่ในบริเวณนิวคลอยด์ (nucleoid region) ของไซโตพลาสซึม ส่วนสารพันธุกรรมของพวกยูคาริโอต จะถูกจัดแบ่งให้อยู่ในโมเลกุลที่เป็นเส้นตรงที่เรียกว่า โครโมโซม (chromosome) ภายในนิวเคลียส และยังพบว่ามีสารพันธุกรรมอื่น ๆ นอกจากในโครโมโซมในออร์แกเนลล์บางชนิด เช่น ไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์ (ดูเพิ่มเติมที่ทฤษฎีเอ็นโดซิมไบโอติก (endosymbiotic theory)) เช่น ในเซลล์มนุษย์จะมีสารพันธุกรรมในบริเวณดังนี้ในนิวเคลียส เรียกว่า นิวเคลียร์ จีโนม (nuclear genome) แบ่งเป็นโมเลกุลเส้นตรง ดีเอ็นเอ 46 เส้น หรือ 23 คู่ เรียกว่า โครโมโซม

สารพันธุกรรมจากภายนอกที่สังเคราะห์ขึ้นได้เองสามารถนำไปใส่ในเซลล์ได้เราเรียกกระบวนการนี้ว่า ทรานสเฟกชัน (transfection)

กายวิภาคศาสตร์ของเซลล์

ตารางที่ 1: เปรียบเทียบรูปร่างของเซลล์ แบบโพรแคริโอต และแบบยูแคริโอต
  โพรแคริโอต ยูแคริโอต
ตัวอย่างสิ่งมีชีวิต แบคทีเรีย, อาร์เคีย โพรทิสต์, เห็ดรา, พืช, สัตว์
ขนาดตัวอย่าง ~ 1-10 ไมโครเมตร ~ 10-100 ไมโครเมตร (เซลล์สเปิร์มหากไม่นับหาง จะมีขนาดเล็กกว่านี้)
ชนิดของนิวเคลียส บริเวณนิวคลอยด์; ไม่มีนิวเคลียสแท้จริง นิวเคลียสจริง มีผนังสองชั้น
ดีเอ็นเอ วงกลม (ธรรมดา) โมเลกุล เป็นแนวตรง (โครโมโซม) และมีโปรตีนฮิสโตน
อาร์เอ็นเอ/การสังเคราะห์โปรตีน ทั้งคู่เกิดในไซโทพลาซึม
ขนาดไรโบโซม 70S 70Sและ80S
โครงสร้างภายในไซโตพลาสซึม โครงสร้างเล็กมาก จัดโครงสร้างโดย เอ็นโดเมมเบรน และ ไซโตสเกเลตัน (cytoskeleton)
การเคลื่อนไหวของเซลล์ แฟกเจลลา สร้างจากโปรตีนแฟลเจลลิน (flagellin) แฟกเจลลา และ ซีเลีย สร้างจากโปรตีนทูบูลิน (tubulin)
ไมโทคอนเดรีย ไม่มี มี ตั้งแต่ หนึ่ง ถึงหลายสิบ
คลอโรพลาสต์ ไม่มี พบในสาหร่ายและพืช
การประสานงานกันระหว่างเซลล์ ปกติเป็นเซลล์เดี่ยว เซลล์เดี่ยว, เป็นโคโลนี, สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ชั้นสูงจะมีเซลล์หลายชนิดที่มีหน้าที่เฉพาะมากมาย
การแบ่งเซลล์ การแบ่งเป็นสองส่วน (simple division) ไมโทซิส
ไมโอซิส