ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิราศภูเขาทอง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
{{บทกวี|indent=1|สิ้นแผ่นดินขอให้สิ้นชีวิตบ้าง|อย่ารู้ร้างบงกชบทศรี|เหลืออาลัยใจตรมระทมทวี|ทุกวันนี้ก็ซังตายทรงกายมา}}
{{บทกวี|indent=1|สิ้นแผ่นดินขอให้สิ้นชีวิตบ้าง|อย่ารู้ร้างบงกชบทศรี|เหลืออาลัยใจตรมระทมทวี|ทุกวันนี้ก็ซังตายทรงกายมา}}


55โดนหลอกเข้าเว็บมาเสียใจด้วย
== เส้นทางการเดินทางของนิราศภูเขาทอง ==
นิราศภูเขาทองเริ่มต้นเล่าการเดินทางทางเรือจาก[[วัดราชบุรณราชวรวิหาร|วัดราชบุรณะ]] กรุงเทพฯ จุดหมายปลายทางคือ [[วัดภูเขาทอง|พระเจดีย์ภูเขาทอง]]ที่พระนครศรีอยุธยา

สถานที่ที่เดินทางผ่านคือ [[พระบรมมหาราชวัง]], วัดประโคนปัก, โรงเหล้า, บางจาก, บางพลู, บางพลัด, บางโพ, บ้านญวน, วัดเขมา, ตลาดแก้ว, ตลาดขวัญ, บางธรณี, เกาะเกร็ด, บางพูด, บ้านใหม่, บางเดื่อ, บางหลวง, บ้านงิ้ว เมื่อเข้าเขตพระนครศรีอยุธยา ผ่านหน้าจวนเจ้าเมือง, [[วัดหน้าพระเมรุ]] แล้วจึงเดินทางถึงเจดีย์ภูเขาทอง

ส่วนขากลับ กล่าวถึง[[วัดอรุณราชวราราม]]เท่านั้น


== ลักษณะคำประพันธ์ ==
== ลักษณะคำประพันธ์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:40, 18 กรกฎาคม 2561

นิราศภูเขาทอง เป็นนิราศที่สุนทรภู่ประพันธ์ในปี พ.ศ. 2373 หลังจากพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จสวรรคตไปแล้ว 6 ปี (สวรรคตปี พ.ศ. 2367) เพื่อการเดินทางจากวัดราชบุรณะไปนมัสการพระเจดีย์ภูเขาทองที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หลังจากออกพรรษาแล้ว

เนื้อหาในนิราศภูเขาทอง

จากคำพรรณนาความรู้สึกอาลัยอาวรณ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยในนิราศภูเขาทอง ทำให้เห็นว่าสุนททรภู่ยังคงจงรักภักดีต่อพระองค์ตลอดมาและไม่เคยลืมความสุขที่ตนเองเคยได้รับจากพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ ซึ่งสุนทรภู่ได้กล่าวถึงความสุขหนหลังในสมัยรัชกาลที่ 2 ในบทนี้

สิ้นแผ่นดินสิ้นนามตามเสด็จ ต้องเที่ยวเตร็ดเตร่หาที่อาศัย
แม้นกำเนิดเกิดชาติใดใด ขอให้ได้เป็นข้าฝ่าธุลี
สิ้นแผ่นดินขอให้สิ้นชีวิตบ้าง อย่ารู้ร้างบงกชบทศรี
เหลืออาลัยใจตรมระทมทวี ทุกวันนี้ก็ซังตายทรงกายมา

55โดนหลอกเข้าเว็บมาเสียใจด้วย

ลักษณะคำประพันธ์

นิราศภูเขาทองแต่งด้วยกลอนนิราศ มีความคล้ายคลึงกับกลอนสุภาพ แต่เริ่มด้วยวรรครับจบ ด้วยวรรคส่งลงท้ายด้วยคำว่า เอย มีความยาวเพียง 89 คำกลอนเท่านั้น แต่มีความไพเราะและเรียบง่าย ตามแบบฉบับของสุนทรภู่ ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย บรรยายความรู้สึกขณะเดียวกันก็เล่าถึงสภาพของความเป็นมาของบ้านเมืองในสมัยนั้น

อ้างอิง

  • วรรณคดีวิจักษ์ ม.1