ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุคก่อนประวัติศาสตร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 64: บรรทัด 64:
| ตำแหน่ง = ช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์สากล
| ตำแหน่ง = ช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์สากล
| ปี = ก่อน 3,500 ปีก่อนคริสตกาล
| ปี = ก่อน 3,500 ปีก่อนคริสตกาล
| ถัดไป = [[สมัยโบราณ]]
| ถัดไป = [[ค.ว.ย]]
}}
}}
{{จบกล่อง}}
{{จบกล่อง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:13, 15 มิถุนายน 2561

ยุคก่อนประวัติศาสตร์ (อังกฤษ: Prehistory) โดยทั่วไปหมายถึงช่วงเวลาที่ไม่มีการบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ โดยมนุษย์ (ในบางครั้งหมายถึง ช่วงเวลาก่อนมีอารยธรรมมนุษย์)

จุดเริ่มต้นของยุคก่อนประวัติศาสตร์

โดยทั่วไปแล้ว นักประวัติศาสตร์แต่ละสำนักให้นิยามไม่ตรงกัน เช่น

ระบบการแบ่งยุค

เรามักนิยมแบ่งยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในช่วงเวลาที่มนุษย์ปรากฏขึ้นบนโลกแล้ว ออกเป็น 3 ช่วง โดยเรียกชื่อตามวัสดุที่มนุษย์ในยุคนั้น นำมาทำเครื่องมือเครื่องใช้

โปรดสังเกตว่า การแบ่งยุคลักษณะนี้ ไม่ได้เป็นการแบ่งช่วงเวลาที่ชัดเจนสำหรับทั่วโลก เนื่องจากมนุษย์ในแต่ละพื้นที่มีพัฒนาการด้านเครื่องมือไม่เท่ากัน เช่น ขณะที่บางชุมชนเข้าสู่ยุคทองเหลืองแล้ว บางชุมชนอาจจะยังอยู่ในยุคหิน ก็เป็นได้. ซวกสกวหบลหกสกบลำลำว_

ยุคหิน

ยุคหิน (Stone Age) แบ่งออกเป็นยุคย่อย ๆ 3 ยุค คือ ยุคหินเก่า ยุคหินกลาง ยุคหินใหม่

ยุคหินเก่า

ยุคหินเก่า (Poalelithic Periode หรือ Old Stone Age) ประมาณ 5,000,000 ปีล่วงมาแล้ว มนุษย์ในยุคนี้เริ่มทำเครื่องมือเครื่องใช้ด้วยหินอ่อนอย่างง่ายก่อน เมื่อเวลาผ่านไปก็สามารถดัดแปลงให้เหมาะสมกับการใช้งาน เครื่องมือหินอ่อน มนุษย์ใช้วัสดุจำพวกหินไฟ ซึ่งในยุคนี้สามารถแบ่งเครื่องมือสมัยเก่าออกเป็น 3 ช่วงได้แก่

หลักฐานในสมัยยุคหินเก่าตอนต้น ได้แก่ โครงกระดูกของมนุษย์ในสมัยนั้น เครื่องสังคโลค ในทวีปยุโรปมีการค้นพบมนุษย์ไฮดรา (Hydra) มนุษย์อมิรา (Amira) ในทวีปเอเชียมีการค้นพบมนุษย์ชวา (java Man) และมนุษย์ปักกิ่ง (Peking Man) ในทวีปแอฟริกามีการค้นพบมนุษย์โฮโมอิเรกตุส (Homoerectus) มนุษย์กินมนุษย์ นอกจากนี้ยังมีหลักฐานประเภทโครงกระดูกของสัตว์ที่มนุษย์กินเป็นอาหาร ซึ่งสามารถบอกให้เราทราบถึงสภาพแวดล้อมของมนุษย์ในขณะนั้นซึ่งยังมีความเป็นสัตว์อยู่มากเนื่องจากกระดูกสันหลังยังคงเหมือนลิงอยู่ และหลักฐานเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำด้วยหินมีลักษณะ

เป็น ขวาน ดาบ มีด ค้อน กระเทาะแบบกำปั้น

  • หลักฐานในสมัยยุคหินเก่าตอนกลาง ได้แก่ โครงกระดูกของมนุษย์ที่มีลักษณะคล้ายกับมนุษย์ปัจจุบันมากขึ้น เช่น โครงกระดูกมนุษย์นีแอนเดอธัลในประเทศรัสเซีย นอกจากนี้ยังมีหลักฐานเครื่องมือเครื่องใช้ที่มีลักษณะแหลมคมมากขึ้น มีด้ามยาวมากขึ้นและมีประโยชน์ในการใช้สอยมากขึ้น และยังมีหลักฐานพฤติกรรมทางสังคม เช่น หลักฐานการประกอบพิธีฝังศพ
  • หลักฐานในสมัยยุคหินเก่าตอนปลาะีีนีตึคภหีก่อน ได้แก่ หลักฐานเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำจากหินและกระดูกสัตว์โดยการแกะสลัก เช่น เข็มเย็บผ้า เครื่องประดับหินอ่อน ฉมวก หัวลูกศร คันเบ็ด และเครื่องประดับทำด้วยเปลือกไม้ และกระดูกสัตว์

ยุคโลหะ

โลหะชนิดแรกที่มนุษย์รู้จักนำมาหลอมเป็นเครื่องมือเครื่องใช้คือ ทองแดง ปรากฏหลักฐานในบริเวณลุ่มแม่น้ำไทกริสและยูเฟรทิส นำทองแดงมาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เมื่อประมาณ 4,000 ปี ก่อนคริสต์ศักราช

ยุคโลหะ (Metal Age) แบ่งออกเป็น 3 ยุคย่อยคือ ยุคทองแดงปนหิน ยุคสำริด และยุคเหล็ก

ยุคทองแดง

ยุคทองแดง (Chalcolithic Age) มนุษย์ยุคนี้ได้มีการนำทองแดงมาทำอาวุธ สิ่งของเครื่องใช้และเครื่องประดับแต่ก็ยังคงมีเครื่องมือหินขัดใช้อยู่

ยุคสำริด

ยุคสำริดเริ่มต้นในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกไม่พร้อมกัน แต่โดยเฉลี่ยแล้วแหล่งถิ่นฐานส่วนใหญ่สามารถถลุงสำริดได้เมื่อประมาณ 5,000 ปี มาแล้ว สำริดเป็นโลหะผสมระหว่างทองแดงกับดีบุก กรรมวิธีการทำสำริดค่อนข้างยุ่งยาก ตั้งแต่การหาแหล่งแร่ การเตรียม การถลุงแร่ และการผสมแร่ในเบ้าหลอม จากนั้นจึงเป็นการขึ้นรูปทำเครื่องมือเครื่องใช้ด้วยดารตีหรือการหล่อในแม่พิมพ์หินทราย หรือแม่พิมพ์ดินเผา

เครื่องมือเครื่องใช้ในยุคสำริดที่พบตามแหล่งต่าง ๆ ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก นอกจากทำด้วยสำริดแล้วยังพบเครื่องมือเครื่องใช้ทำจากดินเผา หิน และแร่ ในบางแหล่งมีการใช้สำริดต่อเนื่องมาจนถึงยุคเหล็กเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำจากสำริดมีขวาน หอก ภาชนะ กำไล ตุ้มหู ลูกปัด เป็นต้น

ในยุคนี้ความเป็นอยู่ของมนุษย์เปลี่ยนไปมากทั้งด้านการเมืองและสังคม ชุมชนเกษตรกรรมขยายตัวจนกลายเป็นชุมชนเมือง จึงมีการจัดแบ่งความสัมพันธ์ตามความสามารถ เช่น กลุ่มอาชีพ มีการจัดระเบียบสังคมเป็นกลุ่มชนชั้นต่าง ๆ ซึ่งเอื้ออำนวยต่อการผลิตอันนำไปสู่ความมั่นคงด้านปัจจัยพื้นฐานและความมั่งคั่งแก่สังคม มนุษย์จึงมีความมั่นคงปลอดภัยกว่าเดิมและมีความสะดวกสบายมากขึ้น นำไปสู่พัฒนาการทางสังคมสู่ความเป็นรัฐในเวลาต่อมา

แหล่งอารยธรรมที่สำคัญ ๆ ของโลกล้วนมีการพัฒนาการสังคมจากช่วงเวลาสมัยหินใหม่และสมัยสำริด แหล่งอารยธรรมของโลกที่สำคัญและแหล่งวัฒนธรรมบางแห่ง เช่น แหล่งอารยธรรมเมโสโปเตเมียในภูมิภาคเอเชียตะวันตก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์ในอียิปต์ แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุในอินเดีย แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโหของจีน และแหล่งวัฒนธรรมบ้านเชียงในประเทศไทย

ยุคเหล็ก

ช่วงเวลานี้เริ่มต้นจากการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีการผลิตโลหะของมนุษย์สามารถหลอมโลหะประเภทเหล็กขึ้นมาทำเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ได้ ซึ่งการผลิตเหล็กต้องใช้อุณหภูมิสูงมีกรรมวิธีที่ยุ่งยาก แต่ถึงอย่างไรเหล็กก็มีความแข็งแกร่งคงทนกว่าโลหะสำริดมาก

สังคมที่สามารถพัฒนาการผลิตเหล็ก จะสามารถพัฒนาสู่ความเป็นรัฐ เพราะการผลิตเหล็กทำให้สังคมสามารถผลิตอาวุธได้ง่ายและแข็งแกร่งขึ้น จนสามารถขยายกองทัพได้ และมีเครื่องมือที่เหมาะสมต่อการทำเกษตรที่มีความคงทนกว่า

แหล่งอารยธรรมแห่งแรกที่สามารถผลิตเหล็กได้คือ แหล่งอารยธรรมเมโสโปเตเมียหรือก็คืออาณาจักรฮิตไทต์ เมื่อ 1,200 ปีก่อนคริสต์ศักราช หรือประมาณ 3,200 ปีมาแล้ว

โดยสรุปแล้ว ยุคเหล็กมีความแตกต่างจากยุคสำริดหลายประการ คือ การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเหล็กทำให้เกิดการเพิ่มผลผลิต การผลิตเหล็กทำให้กองทัพมีอาวุธที่แข็งแกร่ง นำไปสู่พัฒนาการทางสังคมจนกลายเป็นรัฐที่มีกำลังทหารที่แข็งแกร่งเข้ายึดครองสังคมอื่น ๆ ขยายเป็นอาณาจักรในเวลาต่อมา

ดูเพิ่ม

ก่อนหน้า ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ถัดไป
ช่วงเวลาก่อนประวัติศาสตร์สากล ช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์สากล
(ก่อน 3,500 ปีก่อนคริสตกาล)
ค.ว.ย