ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ข้อมูล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
กดx
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ชื่ออื่น||วิทยาการคอมพิวเตอร์|ข้อมูล (คอมพิวเตอร์)}}
{{ชื่ออื่น||วิทยาการคอมพิวเตอร์|ข้อมูล (คอมพิวเตอร์)}}
'''ข้อมูล''' คือ[[ค่า]]ของ[[ตัวแปร]]ใน[[ข้อมูลเชิงคุณภาพ|เชิงคุณภาพ]]หรือ[[ข้อมูลเชิงปริมาณ|เชิงปริมาณ]] ที่อยู่ในความควบคุมของกลุ่มของสิ่งต่าง ๆ ข้อมูลในเรื่อง[[การคอมพิวเตอร์]] (หรือ[[การประมวลผลข้อมูล]]) จะแสดงแทนด้วยโครงสร้างอย่างหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็นโครงสร้างตาราง (แทนด้วยแถวและหลัก) โครงสร้างต้นไม้ (กลุ่มของจุดต่อที่มีความสัมพันธ์แบบพ่อลูก) หรือโครงสร้างกราฟ (กลุ่มของจุดต่อที่เชื่อมระหว่างกัน) ข้อมูลโดยปกติเป็นผลจาก[[การวัด]]และสามารถทำให้เห็นได้โดยใช้[[กราฟ (โครงสร้างข้อมูล)|กราฟ]]หรือ[[รูปภาพ]] ข้อมูลในฐานะมโนทัศน์นามธรรมอันหนึ่ง อาจมองได้ว่าเป็นระดับต่ำที่สุดของ[[ภาวะนามธรรม]]ที่สืบทอดเป็นสารสนเทศและความรู้ ''[[ข้อมูลดิบ]]'' หรือ ''ข้อมูลที่ยังไม่ประมวลผล'' เป็นศัพท์อีกคำหนึ่งที่เกี่ยวข้อง หมายถึงการรวบรวม[[จำนวน]]และ[[อักขระ]]ต่าง ๆ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นตามปกติในการประมวลผลข้อมูลเป็นระยะ และ ''ข้อมูลที่ประมวลผลแล้ว'' จากระยะหนึ่งอาจถือว่าเป็น ''ข้อมูลดิบ'' ของระยะถัดไปก็ได้ [[ข้อมูลสนาม]]หมายถึงข้อมูลดิบที่รวบรวมมาจากสภาพแวดล้อม ณ แหล่งกำเนิด ที่ไม่อยู่ในการควบคุม [[ข้อมูลเชิงทดลอง]]หมายถึงข้อมูลที่สร้างขึ้นภายในสภาพแวดล้อมของการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์โดยการสังเกตและการบันทึก
'''ข้อมูล''' คือ[[ค่า]]ของ[[ตัวแปร]]ใน[[ข้อมูลเชิงคุณภาพ|เชิงคุณภาพ]]หรือ[[ข้อมูลเชิงปริมาณ|เชิงปริมาณ]] ที่อยู่ในความควบคุมของกลุ่มของสิ่งต่าง ๆ ข้อมูลในเรื่อง[[การคอมพิวเตอร์]] (หรือ[[การประมวลผลข้อมูล]]) จะแสดงแทนด้วยโครงสร้างอย่างหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็นโครงสร้างตาราง (แทนด้วยแถวและหลัก) โครงสร้างของต้นไม้ของงงงงงงงงงงงงงงงงพี่
(กลุ่มของจุดต่อที่มีความสัมพันธ์แบบพ่อลูก) หรือโครงสร้างกราฟ (กลุ่มของจุดต่อที่เชื่อมระหว่างกัน) ข้อมูลโดยปกติเป็นผลจาก[[การวัด]]และสามารถทำให้เห็นได้โดยใช้[[กราฟ (โครงสร้างข้อมูล)|กราฟ]]หรือ[[รูปภาพ]] ข้อมูลในฐานะมโนทัศน์นามธรรมอันหนึ่ง อาจมองได้ว่าเป็นระดับต่ำที่สุดของ[[ภาวะนามธรรม]]ที่สืบทอดเป็นสารสนเทศและความรู้ ''[[ข้อมูลดิบ]]'' หรือ ''ข้อมูลที่ยังไม่ประมวลผล'' เป็นศัพท์อีกคำหนึ่งที่เกี่ยวข้อง หมายถึงการรวบรวม[[จำนวน]]และ[[อักขระ]]ต่าง ๆ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นตามปกติในการประมวลผลข้อมูลเป็นระยะ และ ''ข้อมูลที่ประมวลผลแล้ว'' จากระยะหนึ่งอาจถือว่าเป็น ''ข้อมูลดิบ'' ของระยะถัดไปก็ได้ [[ข้อมูลสนาม]]หมายถึงข้อมูลดิบที่รวบรวมมาจากสภาพแวดล้อม ณ แหล่งกำเนิด ที่ไม่อยู่ในการควบคุม [[ข้อมูลเชิงทดลอง]]หมายถึงข้อมูลที่สร้างขึ้นภายในสภาพแวดล้อมของการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์โดยการสังเกตและการบันทึก


== ความหมายของข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ ==
== ความหมายของข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:12, 15 มิถุนายน 2560

ข้อมูล คือค่าของตัวแปรในเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ ที่อยู่ในความควบคุมของกลุ่มของสิ่งต่าง ๆ ข้อมูลในเรื่องการคอมพิวเตอร์ (หรือการประมวลผลข้อมูล) จะแสดงแทนด้วยโครงสร้างอย่างหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็นโครงสร้างตาราง (แทนด้วยแถวและหลัก) โครงสร้างของต้นไม้ของงงงงงงงงงงงงงงงงพี่

(กลุ่มของจุดต่อที่มีความสัมพันธ์แบบพ่อลูก) หรือโครงสร้างกราฟ (กลุ่มของจุดต่อที่เชื่อมระหว่างกัน) ข้อมูลโดยปกติเป็นผลจากการวัดและสามารถทำให้เห็นได้โดยใช้กราฟหรือรูปภาพ ข้อมูลในฐานะมโนทัศน์นามธรรมอันหนึ่ง อาจมองได้ว่าเป็นระดับต่ำที่สุดของภาวะนามธรรมที่สืบทอดเป็นสารสนเทศและความรู้ ข้อมูลดิบ หรือ ข้อมูลที่ยังไม่ประมวลผล เป็นศัพท์อีกคำหนึ่งที่เกี่ยวข้อง หมายถึงการรวบรวมจำนวนและอักขระต่าง ๆ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นตามปกติในการประมวลผลข้อมูลเป็นระยะ และ ข้อมูลที่ประมวลผลแล้ว จากระยะหนึ่งอาจถือว่าเป็น ข้อมูลดิบ ของระยะถัดไปก็ได้ ข้อมูลสนามหมายถึงข้อมูลดิบที่รวบรวมมาจากสภาพแวดล้อม ณ แหล่งกำเนิด ที่ไม่อยู่ในการควบคุม ข้อมูลเชิงทดลองหมายถึงข้อมูลที่สร้างขึ้นภายในสภาพแวดล้อมของการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์โดยการสังเกตและการบันทึก

ความหมายของข้อมูล สารสนเทศ และความรู้

ศัพท์คำว่าข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ บ่อยครั้งถูกใช้แทนมโนทัศน์ที่ทับซ้อนกัน ระดับของภาวะนามธรรมคือความแตกต่างหลักที่จะนำมาพิจารณา ข้อมูลคือระดับของภาวะนามธรรมต่ำที่สุด สารสนเทศอยู่ในระดับถัดไป และสุดท้ายความรู้คือระดับสูงที่สุดในสามสิ่งนี้ [1] ข้อมูลโดยตัวมันเองนั้นไม่มีความหมายอะไร เมื่อข้อมูลกลายเป็นสารสนเทศ มันจะต้องถูกตีความและมีความหมายเกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น ความสูงของยอดเขาเอเวอเรสต์โดยทั่วไปถือว่าเป็นข้อมูล หนังสือเกี่ยวกับลักษณะภูมิประเทศของยอดเขาเอเวอเรสต์ก็อาจถือว่าเป็นสารสนเทศ และรายงานเกี่ยวกับสารสนเทศเชิงปฏิบัติ เรื่องเส้นทางที่ดีที่สุดในการปีนยอดเขาเอเวอเรสต์ก็เรียกได้ว่าเป็นความรู้

เบย์นอน-เดวีส์ใช้มโนทัศน์ของป้ายเพื่อแยกแยะระหว่างข้อมูลกับสารสนเทศ กล่าวคือ ข้อมูลคือสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในขณะที่สารสนเทศจะเกิดขึ้นเมื่อสัญลักษณ์เหล่านั้นใช้อ้างถึงบางสิ่งบางอย่าง [2][3]

อ้างอิง

  1. Akash Mitra (2011). "Classifying data for successful modeling".
  2. P. Beynon-Davies (2002). Information Systems: An introduction to informatics in organisations. Basingstoke, UK: Palgrave Macmillan. ISBN 0-333-96390-3.
  3. P. Beynon-Davies (2009). Business information systems. Basingstoke, UK: Palgrave. ISBN 978-0-230-20368-6.